ดร.จรงค์ศักดิ์ พุมนวน

 

jarong2
ดร. จรงค์ศักดิ์  พุมนวน
นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการขั้นสูง
jarongsak.pu@kmitl.ac.th
เบอร์โทร.  02-3298000  ต่อ 3665 

 ปฏิบัติงานที่ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช      

  

ปฏิบัติการประจำ ณ ภาควิชาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช หลักสูตรเกษตรศาสตร์

คุณวุมิการศึกษา

ปี พ.ศ.ที่จบ

สถานศึกษาที่จบการศึกษา

วท.บ.(เกษตรศาสตร์)

เทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืช

  2541  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
 วท.ม. (กีฏวิทยาและสิ่งแวดล้อม)

กีฏวิทยาและสิ่งแวดลอม

 2546  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
 ปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร  2559  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง


งานบริการวิชาการ

 สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ 

เทคนิคบทปฏิบัติการทางด้านกีฏวิทยา ได้แก่

เทคนิคการเก็บตัวอย่างแมลงและการประเมินประชากรแมลง  เทคนิคการศึกษาตารางชีวิตของแมลง  เทคนิคการผ่าตัดแมลง   เทคนิคการทดสอบประสิทธิภาพของสารกำจัดแมลงต่อแมลงชนิดต่างๆ  เทคนิคการคำนวณสารกำจัดแมลง เทคนิคการตรวจสอบความต้านทานของแมลง   เทคนิคการวิเคราะห์สารพิษตกค้าง    เทคนิคการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลด้านกีฏวิทยา

 การทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันและกำจัดแมลงและไร ต่อแมลงและไรศัตรู

การทดสอบในรูปของสารฆ่าได้แก่ Topical application method, Dipping method, Residual exposure method, Leaf dipping method, Feeding method, Injection method, Direct spray method และ Fumigation method             การทดสอบในรูปของสารไล่   การทดสอบในรูปของสารยับยั้งการกิน            การทดสอบในรูปของสารยับยั้งการวางไข่

รายการ

วิธีเตรียมตัวอย่าง

หมายเหตุ

1การทดสอบประสิทธิภาพของสารกำจัดไรฝุ่นวิเคราะห์

ตรวจสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์กำจัดไรฝุ่น โดยวิธีการรม

– เลี้ยงไรฝุ่นในห้องปฏิบัติการ สารทดสอบต้องเป็นของเหลว ไม่ตกตะกอน ระเหยเป็นไอได้ง่าย

ดำเนินการร่วมกับอาจารย์ในภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ในฐานะที่เป็นหัวหน้าห้องปฏิบัติการตรวจสอบแมลงและไร

ตัวอย่างละ  2,000 บาท

รับผล (ไม่เกิน) 7 วันทำการ

2การตรวจจำแนกแมลงปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์วิเคราะห์

ตรวจสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์กำจัดไรฝุ่น โดยวิธีการรม

 – จำแนกแมลงที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในระดับที่สามารถตรวจสอบได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของตัวอย่างที่ส่งมาให้ดำเนินการร่วมกับอาจารย์ในภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ในฐานะที่เป็นหัวหน้าห้องปฏิบัติการตรวจสอบแมลงและไร ตัวอย่างละ  1,000 บาทรับผล (ไม่เกิน) 7 วันทำการ
3การตรวจจำแนกแมลงทั่วไปวิเคราะห์

ตรวจจำแนกแมลงทั่วไป

– จำแนกแมลงที่ปนเปื้อนทั่วไป ในระดับที่สามารถตรวจสอบได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของตัวอย่างที่ส่งมาให้

ดำเนินการร่วมกับอาจารย์ในภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ในฐานะที่เป็นหัวหน้าห้องปฏิบัติการตรวจสอบแมลงและไร

ตัวอย่างละ  1,000 บาทรับผล (ไม่เกิน) 7 วันทำการ
 งานบริการวิชาการ
 ผลงานวิทยากร-17.Aug_.2016_Page_3-21  วันที่ 10 สิงหาคม 2559  ดร.จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  เป็นวิทยากร  เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน จัดโดย คณะวิศวะกรรมศาสตร์ สจล. ณ ห้อง 703 อาคาร 12 ชั้น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
 
 ผลงานวิทยากร 17.Aug.2016_Page_2 3  วันที่ 26 กรกฏาคม 2559 และ 5 สิงหาคม  2559  ดร.จรงค์ศักดิ์  พุมนวน วิทยากร เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน จัดโดย คณะอุตสาหกรรมเกษตร  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
 ผลงานวิทยากร 27 28 07 59 1 วันที่ 27-28 กรกฎาคม 2559 ดร.จรงค์ศักดิ์ พุมนวน วิทยากรบรรยายเรื่อง การประเมินและพยากรณ์การระบาดของแมลง จัดโดย สมาคมผู้ประกอบกิจการกำจัดแมลง  ณ โรงแรม ทาวน์ อิน ทาวน์ กรุงเทพฯ

 

 ผลงานวิทยากร 29 04 59 1 วันที่ 29 เมษายน 2559   ดร.จรงค์ศักดิ์ พุมนวน วิทยากร การวิจัยจากงานประจำ (R2R)   จัดโดย สภาคณาจารย์และพนักงาน สจล.  ณ 701 อาคารกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

 

 ผลงานวิทยากร 30 03 59 1 วันที่ 30 มีนาคม 2559 ดร.จรงค์ศักดิ์ พุมนวน วิทยากร การวิจัยจากงานประจำ (R2R) จัดโดย วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร สจล.  ณ ห้องประชุมชุมโค อาคารสมเด็จพระเทพฯ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

 

 ผลงานวิทยากร 29 03 59 1 วันที่ 29 มีนาคม 2559  ดร.จรงค์ศักดิ์ พุมนวน วิทยากร การวิจัยจากงานประจำ จัดโดย คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สจล. ณ ห้องสัมมนา ค.234  อาคารปฏิบัติการพิเศษจอมไตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

 

 ผลงานวิทยากร 19 20 03 59 1 วันที่ 19-20 มีนาคม 2559   ดร.จรงค์ศักดิ์ พุมนวน วิทยากร การวิจัยจากงานประจำ จัดโดย สานักควบคุมพืชและวัสดุเกษตร กรมวิชาการเกษตร ณ ธีรมา คอทเทจ รีสอร์ท จังหวัดราชบุรี

 

 ผลงานวิทยากร 27 28 2558 3 วันที่ 27-28 กรกฎาคม 2558 ดร.จรงค์ศักดิ์ พุมนวนบรรยาย หยิบจับหน้างานประจามาทำวิจัย…Style Back Office จัดโดย สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ในการจัดประชุม การขับเคลื่อนและสร้างเครือข่าย:การวิจัยเพื่อเพิ่มคุณค่างานประจำ “จุดประกายต่อยอด R2R”  ณ โรงแรมบัดดี้ โอเรียนทอล ริเวอร์ไซด์ ปากเกร็ด นนทบุรี

 

ผลงานวิทยากร 10 08 59

ผลงานวิทยากร 26 07 59 05 08 59

ผลงานวิทยากร 27 28 2558

ผลงานวิทยากร 29 04 59

หน้าที่รับผิดชอบ

ห้องปฏิบัติการกีฏวิทยาห้องปฏิบัติการพิษวิทยา

ห้องปฏิบัติการวิทยาเห็บไร

 รายการอุปกรณ์ –ครุภัณฑ์ ที่ดูแล ณ หลักสูตรฯ หรือห้องปฏิบัติการ

รายการเครื่องมือ

คุณสมบัติ

วิธีเตรียมตัวอย่าง

1 กล้องสเตอริโอ เป็นกล้องชนิดเลนส์ประกอบ ที่ทำให้เกิดภาพ 3 มิติ ใช้ศึกษาวัตถุที่มีขนาดใหญ่ซึ่งไม่สามารถแยกรายละเอียดด้วยตาเปล่า   มีความชัดลึกมากและเป็นภาพเสมือนเลนส์ใกล้วัตถุมีกำลังขยายน้อยกว่า 10X มี ใช้ศึกษาได้ทั้งวัตถุทึกแสงและโปร่งแสง – ตัวอย่างแห้ง

– ไม่เปียกชื้น

2 กล้องสเตอริโอ พร้อมชุดถ่ายภาพ กล้องจุลทรรศน์ขนิดซูมสเตอริโอ อัตราส่วนขยาย 10 :1 ต่อกับชุดถ่ายภาพกับกระบอกตาที่สาม (Beam Splitter) – ตัวอย่างแห้ง

– ไม่เปียกชื้น

3 เครื่องวัดความเป็นกรด-ด่าง (pH-meter) เป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิก มีส่วนประกอบหลัก 2 ส่วน ได้แก่ อิเล็กโทรด และเครื่องวัดศักย์ไฟฟ้า ( volt meter) เครื่องวัดศักย์ไฟฟ้าจะเปลี่ยนค่าศักย์ไฟฟ้าที่วัดได้ให้เป็นค่า pH
4 ตู้อบความร้อน (Hot air oven) ตู้อบลมร้อนอุณหภูมิสูงถึง 200?C สำหรับ อบสมุนไพร หรือเครื่องแก้ว – สมุนไพรสด

– ตัวอย่างแมลง

– เครื่องแก้ว

– อื่นๆ ที่ต้องการทำให้แห้ง ด้วยความร้อน

5 ตู้อบฆ่าเชื้อ ( Autoclave ) เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับนึ่งฆ่าเชื้อ โดยใช้ไอน้ำร้อนและแรงดันสูง ทำให้ของที่ผ่านการนึ่งแล้วอยู่ในสภาพปราศจากเชื้อ จึงมักใช้เครื่องนี้ในการนึ่งฆ่าเชื้อของเสียทางชีวภาพเพื่อกำจัดและป้องกันการปนเปื้อน และนอกจากจะใช้ป้องกันการปนเปื้อนแล้ว เครื่อง Autoclave ยังสามารถใช้ฆ่าเชื้อตัวอย่างก่อนจะนำมาใช้ในการทดลองได้อีกด้วย – เครื่องแก้ว

– อาหารเลี้ยงเชื้อ

6 เครื่องสกัดสารอินทรีย์ (Soxhlet extraction) เป็นเครื่องสกัดสารสกัดจากพืช เทคนิคนี้ถือว่าเป็น conventional method อีกวิธีหนึ่ง   โดยเทคนิคนี้เหมาะสมสำหรับแยกสารอินทรีย์ที่ไม่เสถียรด้วยความร้อนสูง ออกจากสารผสมที่เป็นของแข็ง ได้สารสกัดในรูปที่ละลายอยู่ในตัวทำละลาย ต้องนำไประเหยเอาส่วนของตัวทำละลายออกไป จนได้สารสกัดที่อยู่ในรูปสารสกัดหยาบ ( Crude extract ) – ตัวอย่างที่ทำการสกัดอาจจะเป็นพืช ดิน หรืออื่นๆ และต้องเป็นตัวอย่างแห้งหรือมีน้ำน้อยทั้งนี้เนื่องจาก สารที่เป็นตัวทำละลายเป็นสารที่มีขั่วน้อย ระเหยได้ง่าย

– ตัวอย่างที่ทำการสกัด ต้องผ่านการสุ่มที่ดี

7 เครื่องลดปริมาตรอุณหภูมิต่ำ (Rotary evaporation) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการระเหยสารตัวอย่างที่เป็นของเหลว โดยการกลั่นเพื่อแยกตัวทำละลายที่ผสมอยู่ออกจากสารที่ต้องการ ทำให้สารที่ต้องการมีความเข้มข้นขึ้น โดยตัวทำละลายจะถูกทำให้กลายเป็นไอ ด้วยระบบสูญญากาศ และให้ความร้อนแก่ตัวอย่าง เพื่อทำให้การกลายเป็นไอง่ายขึ้น จากนั้นไอสารละลายจะผ่าน condenser ที่มีระบบหล่อเย็น ทำให้ไอสารควบแน่นกลายเป็นของเหลว ไหลลงสู่ receiving flask – ตัวอย่างต้องเป็นสารละลายที่ผ่านการกรองเรียบร้อยแล้ว

– ต้องทราบสารที่เป็นตัวทำละลาย

8 เครื่องตัดชิ้นเนื้อแบบหมุน (Microtome) เป็นเครื่องสำหรับตัดชิ้นเนื้อในบล็อกพาราฟินให้เป็นแผ่นบาง โดยสามารถ ตรวจลักษณะภาพจากการตัดได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์
9 เครื่องทำความสะอาดอุปกรณ์ด้วยคลื่น

แม่เหล็กไฟฟ้า (Ultrasonic bath)

เป็นเครื่องทำความสะอาดอุปกรณ์เครื่องใช้โดยใช้ระบบเสียง Ultrasound และต้องใช้สารละลายที่เหมาะสม เป็นการชะล้างทำความสะอาดมีประสิทธิภาพด้วยคลื่นความถี่สูงลงสู่สารละลายที่ใช้ชะล้าง ส่งผลให้โมเลกุลของของเหลวเกิดการบีบอัดสั่นสะเทือน เป็นผลให้มีฟองอากาศสูญญากาศเล็กๆ ที่มีพลังงานแฝงอยู่ สามารถชะล้างคราบหรือสิ่งแฝงที่อยู่บนผิวอุปกรณ์ได้โดยไม่ทำลายชิ้นงาน ซึ่งยังสามารถใช้งานได้กับการช่วยผสมสารที่เข้ากันได้ยาก ได้อีกด้วย ตัวอย่างที่เป็นสารสกัดหยาบ หรือเครื่องแก้วที่ล้างล้างด้วยวิธีปกติไม่ได้ อาจเป็นเพราะทำความสะอาดไม่ถึง
10 เครื่องวิเคราะห์สารพิษตกค้างปริมาณน้อย (Gas chromatography; GC) ใช้เทคนิคการแยกองค์ประกอบของสารผสม โดยอาศัยความแตกต่างของอัตราการเคลื่อนที่ของแต่ละองค์ประกอบของสารผสมบนเฟสคงที่ ( Stationary phase) ภายใต้การพาของเฟสเคลื่อนที่ ( Mobile phase) สำหรับเครื่อง GC เฟสคงที่ คือสารที่อยู่ภายในคอลัมน์ ส่วนเฟสเคลื่อนที่ คือแก๊สฮีเลียม เมื่อสารที่ต้องการวิเคราะห์ผ่านเข้าสู่เครื่อง GC สารดังกล่าวจะถูกเปลี่ยนสถานะจากของเหลว ( Liquid) เป็นแก๊ส ( Gas)  และส่วนแก๊สของสารผสมจะถูกพาเข้าสู่คอลัมน์โดยแก๊สฮีเลียม ซึ่งภายในคอลัมน์จะเกิดการแยกสารผสม โดยอาศัยการทำปฏิกิริยา ระหว่างสารที่อยู่ภายในคอลัมน์ และสารผสม เครื่องไม่สามารถใช้งานได้ ทั้งนี้มีไว้สำหรับสอนเกี่ยวกับองค์ประกอบและหลักการทำงานเครื่อง ให้กับนักศึกษาเท่านั้น
11 เครื่องพ่นสารฆ่าแมลงแบบแนวตั้ง ( Potter’s spray tower ) เป็นชุดทดสอบประสิทธิภาพในรูปของสารฆ่าแมลง แบบการฉีดพ่นโดยตรงบนตัวแมลง โดยเครื่องมือชนิดนี้สามารถกำหนดแรงดันและปริมาณที่ฉีดพ่นได้ สารที่ใช้ในการทดสอบต้องเป็นสารละลาย ไม่มีตะกอน มีอนุภาคเล็ก ไม่ไปอุดตันหัวฉีด – ตัวอย่างสารทดสอบ ต้องเป็นสารที่อยู่ในรูปละลายในตัวทำละลายได้ดี ไม่ตกตะกอน ไม่ไปอุดตันหัวฉีด

– ตัวอย่างแมลงที่ทำการทดสอบ ต้องทำการสลบก่อนการทดสอบและวางไว้บนกระดาษกรองในจาดเพาะเชื้อ

 

12 เครื่องพ่นสารฆ่าแมลงแบบนอน (Knock down chamber) เป็นชุดทดสอบประสิทธิภาพในรูปของสารฆ่าแมลง แบบรมควัน ( Fumigation ) โดยเครื่องมือชนิดนี้สามารถกำหนดปริมาณสารที่รมและระยะเวลาในการรมได้ สารที่ใช้ในการรมต้องเป็นสารที่ระเหยได้ง่าย วิธีการนี้ใช้ทดสอบสารออกฤทธิ์ทางระบบหายใจของแมลง – ตัวอย่างสารทดสอบ ต้องเป็นสารที่อยู่ในรูปละลายในตัวทำละลายได้ดี ไม่ตกตะกอน ไม่ไปอุดตันหัวฉีด

– ตัวอย่างแมลงที่ทำการทดสอบ ต้องเป็นแมลงที่มีโอกาสได้รับสารทดสอบได้จากการหายใจ โดยเฉพาะแมลงที่อาศัยอยู่ในระบบปิด เป็นต้น

13 เครื่องหยดสารฆ่าแมลงปริมาตรต่ำ (Micro-applicator) เป็นชุดทดสอบประสิทธิภาพในรูปของสารฆ่าแมลง แบบการหยดบนตัวแมลง ( Topical ) โดยเครื่องมือชนิดนี้สามารถกำหนดปริมาณสารที่หยดต่อตัวแมลงได้ โดยสารทดสอบจะถูกละลายในตัวทำละลายที่ระเหยง่าย หลังจากหยดสารแล้วก็ปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยไป โดยทิ้งส่วนของสารทดสอบเอาไว้บนตัวแมลง – ตัวอย่างสารทดสอบ ต้องเป็นสารที่อยู่ในรูปละลายในตัวทำละลายได้ดี ไม่ตกตะกอน ไม่ไปอุดตันเข็มที่ใช้หยด

– ตัวอย่างแมลงที่ทำการทดสอบ ต้องทำการสลบก่อนและต้องมีขนาดใหญ่เพียงพอ

– ต้องมีการศึกษาส่วนของแมลงที่ต้องการหยดสารทดสอบ

14 เครื่องสกัดน้ำมันหอมรพเหยโดยวิธีการ

กลั่นด้วยน้ำ (Water distillation)

เป็นวิธีการสกัดน้ำมันหอมระเหยออกจากพืชวิธีการหนึ่งที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้น้ำเป็นตัวสกัดโดยการใส่วัตถุดิบลงไปผสมกับน้ำ แล้วต้มน้ำในหม้อน้ำให้เดือด จากนั้นน้ำมันหอมระเหยจะถูกพาออกมาในลักษณะที่รวมกับไอน้ำ และจะถูกส่งผ่านเข้าไปสู่ขั้นตอนการควบแน่นให้เป็นของเหลว จึงมีการแยกชั้นชัดเจนระหว่างน้ำและน้ำมันหอมระเหย ทำให้แยกออกมาได้สะดวก การกลั่นโดยวิธีนี้ถือว่าสะดวกรวดเร็วและลงทุนน้อยกว่าวิธีอื่นๆ ซึ่งก็ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย การกลั่นด้วยดีนี้โดยทั่วไปจะใช้เวลาประมาณ 48 ชั่วโมง ต่อการกลั่นครั้งหนึ่ง – ตัวอย่างพืชสดหรือแห้งก็ได้

– ทำการย่อยตัวอย่างพืชให้เป็นชิ้นเล็กๆ

– ต้องทราบว่าน้ำมันหอมระเหยจากพืชที่ต้องการสกัดนั้น เบากว่าน้ำ หรือหนักกว่าน้ำ เพื่อที่จะเลือกใช้เครื่องแก้วที่เป็นส่วนประกอบได้ถูกต้อง

 

15 เครื่องวัดความเข้มข้นของออกซิเจนยี่ห้อ Brand Draeger รุ่น X-am 5000 เป็นเครื่องตรวจวัดก๊าซขนาดเล็กที่สุด สามารถตรวจวัดก๊าซได้สูงสุด 6 ชนิด โดยใช้เทคนิกเซนเซอร์ เซนเซอร์อินฟราเรด IR Ex ช่วยให้เครื่องสามารถตรวจวัดไฮโดรคาร์บอนที่ติดไฟและระเบิดได้ เซนเซอร์อินฟราเรด IR CO 2 มีความละเอียดในการตรวจวัด 0.01 Vol.-% ให้การวัดปริมาณก๊าซอย่างแม่นยำและปลอดภัย พร้อมทั้งส่งสัญญาณเตือนเมื่อมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในปริมาณที่เป็นอันตรายอยู่ในอากาศแวดล้อม – ตัวอย่างที่ต้องการวัดต้องอยู่ในภาชนะที่ปิดสนิท
16 ตู้รมยา (Fumigation chamber) เป็นตู้รมควันสำหรับฆ่าแมลง ทำด้วยกระจก ขนาด 1 ลูกบาศน์เมตร โดยเครื่องมือชนิดนี้สามารถกำหนดปริมาณสารที่รมและระยะเวลาในการรมได้ สารที่ใช้ในการรมต้องเป็นสารที่ระเหยได้ง่าย วิธีการนี้ใช้ทดสอบสารออกฤทธิ์ทางระบบหายใจของแมลง ตัวอย่างที่ต้องการทดสอบด้วยวิธีการรมทุกชนิด

 

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ

ผู้อำนวยการงานวิจัยไม่มี

หัวหน้าโครงการวิจัย

– โครงการ การควบคุมไรศัตรูเห็ดโดยใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืช

– โครงการ การใช้น้ำมันหอมระเหยจากพริกไทยดำ ตะไคร้หอม และตะไคร้บ้าน ในการควบคุมไรไข่ปลา

– โครงการ การควบคุมด้วงงวงข้าวโพด, Sitophilus zeamais โดยใช้น้ำมันหอมระเหยจากดาวเรือง

– โครงการ ผลในการรมและการสัมผัสของน้ำมันหอมระเหยจากพืชต่อแมลงศัตรูผักและไม้ดอก

– โครงการ การใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืชร่วมกับน้ำมันปิโตรเลียมในการควบคุมเพลี้ยแป้งสีเทา

– โครงการ การใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืชในการควบคุมไรศัตรูเห็ด, Dolichocybe indica

– โครงการ การควบคุมไรกินเชื้อราTyrophagus sp. โดยใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืช

– โครงการ ปริมาณสารกำจัดแมลงตกค้างในเห็ดจากตลาดกรุงเทพมหานครและระยะเวลาการเป็นพิษตกค้าง

– โครงการ การใช้สูตรน้ำมันหอมระเหยจากจันทร์แปดกลีบ เทียนข้าวเปลือก และตะไคร้บ้าน

ร่วมกับน้ำมันปิโตรเลียม ในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในสภาพแปลง

– โครงการ การสลายตัวของสารกำจัดแมลง carbaryl ในเห็ดนางฟ้าและเห็ดหูหนู

 

 

โครงการวิจัยร่วม

– โครงการ การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของภาคใต้ในการควบคุมศัตรูพืช

– โครงการประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพรพื้นบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในการควบคุมหนอนใยผัก

– โครงการ ประสิทธิภาพของสารสกัดจากผักชีลาว เพกา และผักแพรว ในการควบคุมหนอนกระทู้ผัก

– โครงการอิทธิพลของฤดูกาลที่มีผลต่อประสิทธิภาพของสารสกัดจากยูคาลิปตัสในการควบคุมหนอนใยผัก

– โครงการ การควบคุมหนอนหน้าแมวปาล์มน้ำมันโดยชีววิธี

– โครงการ ความหลากหลายของไรฝุ่นใน อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี

– โครงการ การควบคุมไรฝุ่นโดยสารสกัดจากพืช

– โครงการ การควบคุมไรฝุ่นโดยวิธีการรมสารสกัดจากพืช

– โครงการ การควบคุมไรฝุ่นโดยใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืช

– โครงการ ความหลากหลายของไรในโรงเก็บและไรฝุ่นในเขตภาคกลางของประเทศไทย

– โครงการ ผลของการเลี้ยงปลาและการปลูกผักกระเฉด ต่อความหลากหลายทางชีวภาพของแพลงก์ตอน สัตว์หน้าดิน และคุณภาพน้ำ

– โครงการ ผลของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากสาหร่ายต่อไรฝุ่น

– โครงการ ความหลากหลายทางพันธุกรรมและศักยภาพการพัฒนาพันธุ์มันเทศ เพื่ออาหาร อุตสาหกรรม และเชื้อเพลิง

– โครงการ การควบคุมไรในโรงเก็บ (Suidasia pontifica Oudemans) โดยใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืช

– โครงการ การควบคุมตัวเรือด Cimex hemipterusโดยใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืช

– โครงการ ประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรร่วมกับคาร์บอนไดออกไซด์ในการควบคุม

แมลงศัตรูในโรงเก็บ

 

งานวิจัยที่สำเร็จแล้ว

ระดับชาติ

สาวิตรี ชื่นบาล  จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2558. ประสิทธิภาพการรมของสูตรน้ำมันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชยต่อไรกินเชื้อรา. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 33(พิเศษ 1): 808-812.

สุชีรา ด่านอรุณ  ภัทราภรณ์ หอมคง  จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  และอำมร อินทร์สังข์. 2558. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากพืชต่อตัวเต็มวัยไรแดงแอฟริกัน (Eutetrenychus africanus (Tucker)). วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 33(พิเศษ 1): 760-766.

อุดมพร จอมพงษ์  จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2558. พฤติกรรมการใช้สารกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 33(พิเศษ 1): 745-753.

อำมร อินทร์สังข์และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2557. สูตรสมุนไพรควบคุมและกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลที่มีน้ำมันหอมระเหยจากจันทร์แปดกลีบเป็นส่วนประกอบหลัก. คำขอยื่นจดสิทธิบัติ เลขที่ 1401006607 ลงวันที่ 5พฤศจิกายน2557.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  และอำมร อินทร์สังข์. 2557. สูตรสมุนไพรควบคุมและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังที่มีน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้บ้านเป็นส่วนประกอบหลัก. คำขอยื่นจดสิทธิบัติ เลขที่ 1401006608 ลงวันที่ 5พฤศจิกายน2557.

พรหมมาศ คูหากาญจน์จรงค์ศักดิ์ พุมนวนอำมร อินทร์สังข์ ณัฐพล หล่อเจริญ และอุดมพร บุญเปลี่ยน. 2557. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากพริกไทยดำ (Piper nigrum Linn.), ตะไคร้บ้าน (Cymbopogon citratus (Dc. ex Nees)) และตะไคร้หอม (Cymbopogon nardus Rendle.)ต่อการเจริญของเชื้อเห็ดบางชนิด. วารสารแก่นเกษตร. 42(1): 7-16.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน กนิษฐา บุญนาค ธนภรณ์ ดวงนภา พรหมมาศ คูหากาญจน์ และอำมร อินทร์สังข์. 2557. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้หอม กานพลู และโหระพา ต่อการเจริญเติบโตของเชื้อเห็ดฟาง เห็ดหูหนู และเห็ดหอม. ใน: การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่13. ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น. วันที่ 29-31กรกฎาคม 2557, จังหวัดขอนแก่น.

ธนภรณ์ ดวงนภา พรหมมาศ คูหากาญจน์จรงค์ศักดิ์ พุมนวนและอำมร อินทร์สังข์. 2557. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้หอม (Cymbopogon nardus) กานพลู (Syzygium aromaticum) และโหระพา (Ocimum basilicum) ต่อการเจริญเติบโตของเชื้อเห็ดแครง (Schizophyllum commune) และเชื้อเห็ดโคนญี่ปุ่น (Agrocybe cylindracea). วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 32(2): 48-55.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  อำมร อินทร์สังข์ และพรหมมาศ คูหากาญจณ์. 2556. การใช้สูตรน้ำมันหอมระเหยจากพริกไทยดำในการควบคุมแมลงศัตรูเห็ด.ใน: การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่11. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ. วันที่ 9-12 พฤศจิกายน 2556, กรุงเทพฯ.

วริยา ธนะศิรังกูลจรงค์ศักดิ์ พุมนวนและอำมร อินทร์สังข์. 2556. ประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรบางชนิดต่อตัวเต็มวัยของมอดแป้ง มอดหัวป้อม และด้วงงวงข้าวโพด. ใน: การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่12. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ. วันที่ 9-12 พฤศจิกายน 2556, กรุงเทพฯ.

อักษร จันทร์เทวีจรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2556. ประสิทธิภาพน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรต่อตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล (Nilaparvata lugens(Stål)). ใน: การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่12. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ. วันที่ 9-12 พฤศจิกายน 2556, กรุงเทพฯ.

อุดมพร บุญเปลี่ยนจรงค์ศักดิ์ พุมนวนและอำมร อินทร์สังข์. 2556. ประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยจาก ตะไคร้บ้าน อบเชย และ กานพลูต่อตัวอ่อนของเพลี้ยแป้งสีเทา(Pseudococcus jackbeardsleyi Gimpel&Miller). ใน: การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่12. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ. วันที่ 9-12 พฤศจิกายน 2556, กรุงเทพฯ.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวนและอำมร อินทร์สังข์. 2556. ประสิทธิภาพการฆ่าแมลงของน้ำมันหอมระเหยจากพืชต่อเพลี้ยอ่อนฝ้าย (Aphis gossypii Glover) (Hemiptera: Aphididae) โดยวิธีการรม. หน้า 1107-1116. ใน: การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 11. ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น. วันที่ 26-28 พฤศจิกายน 2556, จังหวัดขอนแก่น.

ธนภรณ์ ดวงนภาจรงค์ศักดิ์ พุมนวนและอำมร อินทร์สังข์. 2556. ผลของการรมของน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร ต่อไรลูกโป่ง (Dolichocybe indica Mahunka). หน้า 1099-1106. ใน: การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 11. ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น. วันที่ 26-28 พฤศจิกายน 2556, จังหวัดขอนแก่น.

วริยา ธนะศิรังกูลจรงค์ศักดิ์ พุมนวนและ อำมร อินทร์สังข์. 2556. ประสิทธิภาพการไล่ของน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรต่อตัวเต็มวัยของมอดแป้ง มอดฟันเลื่อย และด้วงงวงข้าวโพด. หน้า 1085-1092. ใน: การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 11. ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น. วันที่ 26-28 พฤศจิกายน 2556, จังหวัดขอนแก่น.

อักษร จันทร์เทวีจรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2556. ประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรร่วมกับน้ำมันปิโตรเลียมในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลNilaparvata lugens(Stål)) (Homoptera:Delphacidae). หน้า 935-942. ใน: การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 11. ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น. วันที่ 26-28 พฤศจิกายน 2556, จังหวัดขอนแก่น.

อัจจิมา นุชโพธิ์จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2556. ความเป็นพิษทางการรมของน้ำมันหอมระเหยจากกานพลู อบเชย และตะไคร้หอม ต่อไรเชื้อรา (Tyrophagus sp.). หน้า 1093-1098. ใน: การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 11. ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น. วันที่ 26-28 พฤศจิกายน 2556, จังหวัดขอนแก่น.

อุดมพร บุญเปลี่ยน  สุชาติ รอดโรคะ  จรงค์ศักดิ์ พุมนวนและอำมร อินทร์สังข์. 2556. ประสิทธิภาพการไล่ของน้ำมันหอมระเหยจาก ตะไคร้บ้าน อบเชย และกานพลูต่อตัวอ่อนของเพลี้ยแป้งสีเทา (Pseudococcus jackbeardsleyi Gimpel&Miller). หน้า 1077-1084. ใน: การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 11. ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น. วันที่ 26-28 พฤศจิกายน 2556, จังหวัดขอนแก่น.

กวีวัฒน์ จาวสุวรรณวงษ์จรงค์ศักดิ์ พุมนวนและอำมร อินทร์สังข์. 2556. ประสิทธิภาพของสูตรน้ำมันหอมระเหยจากจันทร์แปดกลีบ (Illicium verum Hook.f.) และเทียนข้าวเปลือก (Anethum graveolens Linn.) ในการควบคุมแมลงศัตรูในโรงเก็บ. หน้า 1069-1076. ใน: การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 11. ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น. วันที่ 26-28 พฤศจิกายน 2556, จังหวัดขอนแก่น.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และมณฑินี ธีรารักษ์. 2555. ประสิทธิภาพของสารสกัดจากดอกดาวเรือง (Tagetes erecta L.) ในการควบคุมหนอนใยผัก (Plutella xylostella L.). วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 30(2): 1-7.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  และอำมร อินทร์สังข์. 2555. สูตรสมุนไพรควบคุมและกำจัดไรศัตรูเห็ดที่มีน้ำมันหอมระเหยจากพริกไทยดำเป็นส่วนประกอบหลัก. คำขอยื่นจดสิทธิบัติ เลขที่ 1201004243 ลงวันที่ 22สิงหาคม 2555.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2555. ประสิทธิภาพของ Eugenol และน้ำมันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชยในการควบคุมไรในโรงเก็บ, Suidasia pontifica Oudemans. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 40(4): 1204-1213.

อำมร อินทร์สังข์ จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และสมสรรค์ หังสพฤกษ์. 2554. ประสิทธิภาพซันซอลย์ปิโตรเลียมในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล, Nilaparvata lugens(Stal) (Delphacidae:Homoptera). วารสารกีฏและสัตววิทยา.30(1): 17-24.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน อำมร อินทร์สังข์ อดิสรณ์ เครือเช้า และสมสรรค์ หังสพฤกษ์. 2554. ประสิทธิภาพของซันซอลย์ปิโตรเลียมในการควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีเทา, Pseudococcus jackbeardsleyiBimpel&Miller (Pseudococcidae:Homoptera). วารสารกีฏและสัตววิทยา.29(2): 3-11.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน อรอุมา รุ่งน้อย และลำแพน ขวัญพูล. 2554. การทดสอบความชอบในการเข้าทำลายของด้วงงวงมันเทศ (Cylas formicarius F.) บนมันเทศพันธุ์ต่างๆ. วารสารแก่นเกษตร. 39(พิเศษ 2):59-66.

อำมร อินทร์สังข์จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และพลอยชมพู กรวิภาสเรือง. 2553. ความหลากหลายของไรฝุ่นในเขตภาคกลางของประเทศไทย. วารสารกีฏและสัตววิทยา.28(1): 31-39.

อำมร อินทร์สังข์และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2553. การควบคุมไรในโรงเก็บSuidasia pontifica Oudemans โดยใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืช. วารสารกีฏและสัตววิทยา.28(1): 40-53.

พลอยชมพู กรวิภาสเรืองจรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2553. ความหลากหลายของไรในโรงเก็บในเขตภาคกลางของประเทศไทย. วารสารกีฏและสัตววิทยา.28(2): 10-18.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2553. ประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยจากอบเชยในการควบคุมไรฝุ่นDermatophagoides pteronyssinus (Trouessart). วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 28(3): 84-91.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  พิฆเนศ รองพล  และอำมร อินทร์สังข์. 2553. ประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรในการฆ่าไรดีดFormicomotes heteromorphus Magowski โดยวิธีการสัมผัส. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 38 (1):124-132.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2553. ไรฝุ่น…ภัยร้ายใกล้ตัวที่มองไม่เห็น กำจัดได้…โดยใช้สมุนไพร. ข่าวสารเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 55 (1):24-36.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน พิฆเนศ รองพลและอำมร อินทร์สังข์. 2553. ประสิทธิภาพการไล่ของน้ำมันหอมระเหยจากพืชต่อไรดีด (Formicomotes heteromorphus Magowski) และไรไข่ปลา (Luciaphorus perniciosus Rack). วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 41(2) (พิเศษ): 633-636.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน อำมร อินทร์สังข์ และสาโรช เจริญศักดิ์. 2553. ประสิทธิภาพของสารสกัดยูคาลิปตัส (Eucalyptus camaldulensis Dehnh) ในการควบคุมหนอนกระทู้ผัก (Spodoptera litura F.). วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 41(2) (พิเศษ): 629-632.

สาโรช เจริญศักดิ์ จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2553. ประสิทธิภาพของสารสกัดยูคาลิปตัส (Eucalyptus camaldulensis Dehnh) ในการควบคุมหนอนใยผัก (Plutella xylostella L.). วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 41(2) (พิเศษ): 625-628.

ชัชฎา ยังนิตย์ จรงค์ศักดิ์ พุมนวน พิฆเนศ รองพล และอำมร อินทร์สังข์. 2553. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรต่อการเจริญของเชื้อเห็ดขอนขาว (Lentinussquarrosulus Mont) และเห็ดฮังการี (Pleurotus ostreatus (Jacq.Fr.) Kummer). วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 41(2) (พิเศษ): 669-672.

อภิญญา สโมสรสุนีรัตน์ เรืองสมบูรณ์อำมร อินทร์สังข์และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2553. ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากสาหร่ายขนาดใหญ่ ต่อไรฝุ่น Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart) โดยวิธีสัมผัส.หน้า 184-192. ในเรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 48 (สาขาประมง). วันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2553 ณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  พิฆเนศ รองพล  และอำมร อินทร์สังข์. 2552. ผลของการรมน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรต่อไรดีด Formicomotes heteromorphus Magowski (Acari: Pygmephoridae). หน้า 101-110 ใน การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 9. ณ โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. วันที่ 24-26 พฤศจิกายน 2552.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน อำมร อินทร์สังข์ และพิฆเนศ รองพล. 2552. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรต่อไรแดงแอฟริกัน (Eutetranychus africanus (Tucker)) (Actinedida: Tetranychidae).วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 40(3) (พิเศษ): 189-192.

พิฆเนศ รองพล  จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2552. ผลของการรมน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรต่อไรไข่ปลา, Luciaphorus perniciosus Rack. วารสารวิจัยและส่งเสริมการเกษตร. 26(3): 20-25.

อำมร อินทร์สังข์ และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2552. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากพืชต่อไรฝุ่นDermatophagoides pteronyssinus (Trouessart) วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 37(2): 183-191.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  วรเดช จันทรสร  อำมร อินทร์สังข์ และพิฆเนศ รองพล. 2552. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรผลของน้ำมันหอมระเหยจากพริกไทยดำ (Piper nigrum Linn.) ในการฆ่าไรแดงแอฟริกัน (Eutetranychus africanus (Tucker)) (Actinedida: Tetranychidae). วารสารเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 25(2): 169-176.

อำมร อินทร์สังข์และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2551. ความหลากหลายของไรฝุ่นในอำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารกีฏและสัตววิทยา. 26(1): 11-22.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  อำมร อินทร์สังข์และสาโรช เจริญศักดิ์. 2551. ประสิทธิภาพของสารสกัดผักชีลาว (Anethum graveolens Linn.) ผักเพกา (Oroxylum indicum Vent.) และผักแพรว (Polygonum odoratum Lour.) ในการป้องกันกำจัดหนอนใยผัก (Plutella xylostella Linn.). วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 39 (3) (พิเศษ): 464-467.

อำมร อินทร์สังข์และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2551. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากพริกไทยดำ (Piper nigrum Linn.) ในการฆ่าไรฝุ่น (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)). วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 39 (3) (พิเศษ): 468-471.

อำมร อินทร์สังข์ จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  อมรรัตน์ พรหมบุญ  สุนันทา รัตนาโก  เลิศลักษณ์ เงินศิริ และวนิดา สุวรรณสิทธิ์.  2551. การเจริญเติบโตและผลผลิตเส้นไหมไทย (Bombyx  mori L.) ที่เลี้ยงด้วยอาหารเทียม (Abstract). หน้า 69ใน การประชุมวิชาการหม่อนไหมระดับชาติ ครั้งที่ 1 วันที่ 22-23 กันยายน 2551 ณ ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.

พิฆเนศ รองพล   จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2551. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรต่อไรไข่ปลา, Luciaphorus perniciosus Rack. หน้า 376-382ใน การประชุมวิชาการการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 1 วันที่ 28 สิงหาคม 2551 ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.

ธีรพงษ์ วางอภัย   จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และอำมร อินทร์สังข์. 2551. ผลของน้ำมันหอมระเหยจากพืชป่าบางชนิดไรฝุ่น, Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart). หน้า 371-375ใน การประชุมวิชาการการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 1 วันที่ 28 สิงหาคม 2551 ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.

อำมร อินทร์สังข์   จรงค์ศักดิ์ พุมนวน   อนุพงษ์เจริญวัฒนาชัยกุล  และบุษรา จันทร์แก้วมณี. 2551. ประสิทธิภาพการรมของสารสกัดจากพืชต่อไรฝุ่น Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart) และ Blomia tropicalis Bronswijk. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 26(3): 42-51.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน   อำมร อินทร์สังข์  และสาโรช เจริญศักดิ์. 2551. ประสิทธิภาพของสารสกัดผักชีลาว (Anethum graveolens Linn.) ผักเพกา (Oroxylum indicum Vent.) และผักแพรว (Polygonum odoratum Lour.) ในการป้องกันกำจัดหนอนใยผัก (Plutella xylostella Linn.) (บทคัดย่อ). 2551. วารสารเคหการเกษตร. 32(10); 243.

อำมร อินทร์สังข์ และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2551. สูตรสมุนไพรควบคุมและกำจัดไรฝุ่นที่มีน้ำมันหอมระเหยจากกานพลูเป็นส่วนประกอบหลัก. คำขอยื่นจดสิทธิบัติ เลขที่ 0801005027 ลงวันที่ 30 กันยายน 2551.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  และอำมร อินทร์สังข์. 2551. สูตรสมุนไพรควบคุมและกำจัดไรฝุ่นที่มีน้ำมันหอมระเหยจากอบเชยเป็นส่วนประกอบหลัก. คำขอยื่นจดสิทธิบัติ เลขที่ 0801005026 ลงวันที่ 30 กันยายน 2551.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน ลักขณา อมรสิน และชินวัฒก์ ชูชื่น. 2550. ปริมาณไนเตรตและไนไตรต์ในผักกวางตุ้ง ผักบุ้งจีน และผักคะน้า ที่มีการใส่ปุ๋ยเคมี. วารสารแก่นเกษตร. 35(2): 170-176.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2550. เทคนิคบทปฏิบัติการทางกีฏวิทยา. ภาควิชาเทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 199 หน้า.

อำมร อินทร์สังข์จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และสุภัคชา หอมจันทร์. 2550. ผลของอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ต่อตารางชีวิตของไรฝุ่น, Blomia tropicalis (Bronswijk). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 15(3): 79-86.

อำมร อินทร์สังข์จรงค์ศักดิ์ พุมนวน และสุภัคชา หอมจันทร์. 2550. ผลของอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ต่อตารางชีวิตของไรฝุ่น, Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart).วารสารวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 25(1-3): 1-9.

อำมร อินทร์สังข์   จำรูญ เล้าสินวัฒนา   วรรณะ มหากิตติคุณ   พรพิมล ชื่นชม  และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2550. ผลของสารสกัดจากพืชสมุนไพรต่อไรฝุ่น, Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart).วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 26(4): 327-336.

อำมร อินทร์สังข์  วรรณะ มหากิตติคุณ  พรพิมล ชื่นชม  สุภัคชา หอมจันทร์ และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2550. ความหลากหลายและชีววิทยาของไรฝุ่น ในอำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และแนวทางการป้องกันกำจัดโดยใช้สมุนไพร. หน้า 288-303ใน รายงานการวิจัยในโครงการ BRT 2550 ชุดโครงการทองผาภูมิตะวันตก. โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย. กรุงเทพฯ.

อำมร อินทร์สังข์ และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2550. สูตรสมุนไพรควบคุมและกำจัดไรฝุ่นที่มีสารสกัดจากกานพลูเป็นส่วนประกอบหลัก. คำขอยื่นจดสิทธิบัติ เลขที่ 0701002942 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2550.

อำมร อินทร์สังข์ และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2550. สูตรสมุนไพรควบคุมและกำจัดไรฝุ่นที่มีสารสกัดจากอบเชยเป็นส่วนประกอบหลัก. คำขอยื่นจดสิทธิบัติ เลขที่ 0701002943 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2550.

อำมร อินทร์สังข์และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2549. ปัจจัยต่อการเกิดการระบาดของหนอนหน้าแมวปาล์มน้ำมัน (Darna furva Wileman).การประชุมพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 6 (7-10 เมษายน 2549 ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จ.เชียงใหม่). วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 37(พิเศษ): 987-990.

อำมร อินทร์สังข์   ทวีศักดิ์ ชโยภาสและจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2548. ประสิทธิภาพของแตนเบียนDolichogenidea parasae (Rohwer) และมวนพิฆาตหนอน Eocanthecona furcellata (Wolf) ในการควบคุมหนอนหน้าแมวปาล์มน้ำมัน Darna furva Wileman. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 5. (26-29 เมษายน 2548 ณ โรงแรมเวลคัมจอมเทียมบีช พัทยา ชลบุรี).

จรงค์ศักดิ์  พุมนวน  และลักขณา  อมรสิน. 2548. ปริมาณไนเตรตและไนไตรต์ในผักที่จำหน่ายในท้องตลาด. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 5. (26-29 เมษายน 2548 ณโรงแรมเวลคัมจอมเทียมบีช พัทยา จ. ชลบุรี). วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 36 (พิเศษ): 136-1139.

วีระณีย์ ทองศรี  จรงค์ศักดิ์ พุมนวน  พงษ์ศักดิ์ กฤตยพรพงศ์  สุมลรัตน์ จินตนาสิริรักษ์    และ วิรัตน์ ภูวิวัฒน์. 2548. การเปรียบเทียบผลของสารสกัดเปลือกหุ้มเมล็ดเนียง (Archidendron jiringa Nielsen) ด้วยเมทธานอลและเอทธานอลต่อการควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืชบางชนิด.  การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 5. (26-29 เมษายน 2548 ณ โรงแรมเวลคัมจอมเทียมบีช พัทยา จ. ชลบุรี). วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 36 (พิเศษ): 1168-1171.

จรงค์ศักดิ์  พุมนวน  วีระณีย์ ทองศรี  พงษ์ศักดิ์ กฤตยพรพงศ์  และสุมลรัตน์ จินตนาสิริรักษ์.  2548.  ประสิทธิของสารสกัดดองดึง (Gloriosa superba Linn.) สีเสียด (Acacia catechu Willd) และเนียง (Archidendron jiringa Nielsen) ในการป้องกันกำจัดหนอนใยผัก (Plutella xylostella Linn.). วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.  27 (5): 1037-1045.

อำมร อินทร์สังข์ทวีศักดิ์ ชโยภาส และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2548. ชีววิทยาและตารางชีวิตของหนอนหน้าแมวปาล์มน้ำมัน (Darna furva Wileman)วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 23(3): 58-67.

อำมร อินทร์สังข์   วรเดช จันทรสร  และจรงค์ศักดิ์  พุมนวน. 2547. ประสิทธิภาพของสารสกัด เอทานอลจากพืชในการควบคุมหนอนหน้าแมว Darna furva Wileman (Lepidoptera: Limacodidae). วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 22(1): 1-9.

จรงค์ศักดิ์  พุมนวน และอำมร  อินทร์สังข์. 2547. การยับยั้งเอนไซม์อะเซตทิลโคลินเอสเทอเรสจากหัวผึ้งพันธุ์ โดยสารฆ่าแมลงออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 22(2): 87-97.

จรงค์ศักดิ์  พุมนวน  และลักขณา อมรสิน. 2547. การใช้เอนไซม์อะเซตทิลโคลินเอสเทอเรสจากหัวผึ้งพันธุ์ในการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างในพืชผัก. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 22(3):40-50.

วรเดช จันทรสร  อำมร อินทร์สังข์  และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2546. ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงบางชนิดในการควบคุมหนอนหน้าแมว Darna furva Wileman และความเป็นพิษต่อแตนเบียนหนอน Dolichogenidea parasae Rohwer และมวนพิฆาตหนอน Eocanthecona furcellata (Wolf). วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 21(3): 19-26.

จรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2546. การใช้สารฆ่าแมลงในสวนผักกระเฉด: กรณีศึกษา อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 21(3): 88-90.

ลักขณา อมรสิน และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2545. ผลของเมทธามิโดฟอสต่อระดับการทำงานของอะเซตทิลโคลินเอสเทอเรสและการเป็นพิษของผึ้งพันธุ์ (Apis mellifera). วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 20(1):70-78.

ลักขณา อมรสิน และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2544. การตกค้างของเมทธิลพาราไธออนในผักคะน้าที่เก็บในสภาวะที่ต่างกัน. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 19(1): 81-89.

ลักขณา อมรสิน   ภัญชนา มีแก้วกุญชร และจรงค์ศักดิ์ พุมนวน. 2544. การปลูกผักกวางตุ้งให้ได้ผลผลิตสูงและลดปริมาณไนเตรตและไนไตรต์. วารสารพระจอมเกล้าลาดกระบัง.   9(2):19-24.

 

ระดับนานาชาติ

Pumnuan, J. and A. Insung.2016. Fumigation toxicity of plant essential oils in controlling thrips, Frankliniella schultzei (Thysanoptera: Thripidae) and mealybug, Pseudococcus jackbeardsleyi (Hemiptera: Pseudococcidae). Journal of Entomological Research. 40(1):1-10.

Insung, A.,Pumnuan, J., Mahakittikun, V. and Wangapai, T. 2016. Effectiveness of essential oils of medicinal plants at reducing the amounts of allergen produced by the European house dust mite, Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart). Journal of Acarological Society of Japan. 25(1): 179-184.

Ruangsomboon, S. and J. Pumnuan. 2016. Acaricidal activities of algal extracts against the house dust mite, Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart). Journal of Acarological Society of Japan. 25(1): 169-178.

Pumnuan, J., Khurnpoon, L. and A. Insung. 2015. Effects of Insecticidal essential oil fumigations on physiological changes in cut dendrobium Sonia orchid flower. Songklanakarin Journal Science and Technology. 37(5): 523-531.

Pumnuan, J., Nuchpo, A. and A. Insung. 2015. Acaricidal activity of eugenol and citral standards against the stored product mite, Tyrophagus communis Fan&Zhang. 2015. In: 5th International Conference on Engineering and Applied Sciences (ICEAS 2015), July 20-22, 2015. Sapporo, Hokkaido Prefecture, Japan.

Pumnuan, J., Nuchpo, A. and A. Insung. 2014. Fumigation and residual contact toxicity of lemon grass, betel vine, myrtle grass and clove essential oils against stored product mite, Tyrophagus sp.In:11th International Working Conference on Stored Product Protection (11th IWCSPP 2014),November 24-28, 2014,The Empress HotelChiang Mai, Thailand.

Jawsuwanwong, K., Pumnuan, J. and A. Insung. 2014. Repellent and ovipositional inhibition properties of essential oil formulas from star anise (Illicium verum) and dill (Anethum graveolens) against stored product insects.In:11th International Working Conference on Stored Product Protection (11th IWCSPP 2014),November 24-28, 2014,The Empress HotelChiang Mai, Thailand.

Pumnuan, J.,Insung, A and A. Boonplain. 2014. Effectiveness of essential oil formula from lemon grass in controlling mealybug (Pesudococcus jackbeardsleyi Gimpel & Miller) by direct spray method in insectary. In:12th International Symposium on Biocontrol and Biotechnology (12th ISBB2014), Novotel Chumphon Beach Resort and Golf, December 11-13, 2014, Chumphon Thailand.

Insung, A., Pumnuan, J.and A.Chantawee. 2014. Effect of plant essential oils on survival of brown planthopper (Nilaparvata lugens (Stål)) by direct spray in insectary. In:12th International Symposium on Biocontrol and Biotechnology (12th ISBB2014), Novotel Chumphon Beach Resort and Golf, December 11-13, 2014, Chumphon Thailand.

Jompong, U., Pumnuan, J.and A. Insung. 2014. Insecticide application in mushroom farms: asurvey study in Nongyaplong district, Phetchburi province, Thailand. In:12th International Symposium on Biocontrol and Biotechnology (12th ISBB2014), Novotel Chumphon Beach Resort and Golf, December 11-13, 2014, Chumphon Thailand.

Pumnuan, J., Khurnpoon, L. and A. Insung. 2014. Changes of cut orchid quality after fumigation with clove and cinnamon essential oils. In:5th Postharvest Unlimited, ISHS International Conference, the Aphrodite Hills, Intercontinental Hotel, June 10-13, 2014, Lemesos, Cyprus.

Pumnuan, J., Mahakittikun, W. and A. Insung. 2014.  Fumigant toxicity of lemon grass, citronella grass and black pepper essential oils against mushroom mite, Dolichocybe indica Mahunka.In: 14th International Congress of Acarology,TERRSA Hall, July 14-18,2014, Kyoto, Japan.

Insung,A., Pumnuan, J., Mahakittikun, W. and T. Wangapai. 2014.  Effectiveness of Essential Oils of Medicinal Plants on Reduction of Allergen Produced by House Dust Mite, Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)In: 14th International Congress of Acarology,TERRSA Hall, July 14-18, 2014, Kyoto, Japan.

Arirob, W., Insung, A., Pumnuan, J., Won-In, K. and P. Dararutana. 2013. Investigation of tannin trude extract from cassava leaves for mealybug control. Advanced Science Letters. 19(12): 3579-3581.

Insung, A., Tawatsin, A., Thavara, U. and J. Pumnual. 2012. Effectiveness of Essential Oils of Lime (Citrus aurantifolia Swing.), Kaffir Lime (Citrus hystrixDC.) and Betel Vine (Piper betleLinn.) against Bed Bug (Cimex hemipterusLinn.). p. 23-28. In: 10th International Symposium on Biocontrol and Biotechnology (10th ISBB2012). 27-30, Dec. 2012, Harbin Institute of Technology, Harbin, P.R.Chaina.

Boonplain, A., Pumnuan, J. and A. Insung. 2012. Effectiveness of Essential Oils of Lemon Grass (Cymbopogoncitratus (Dc.ex.Nees)), Cinnamon (Cinnamomum bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet) and Clove (Syzygium aromaticum (Linn.)) against Mealybug (Pseudococcus jackbeardsleyiGimpel&Miller). p. 50-53. In: 10th International Symposium on Biocontrol and Biotechnology (10th ISBB2012). 27-30, Dec. 2012, Harbin Institute of Technology, Harbin, P.R.Chaina.

Chantawee, A., Pumnuan, J. and A. Insung. 2012. Effectiveness of Essential Oils of Medicinal Plants against Brown Planthopper (Nilaparvata lugens(Stål)). p. 54-58. In: 10th International Symposium on Biocontrol and Biotechnology (10th ISBB2012). 27-30, Dec. 2012, Harbin Institute of Technology, Harbin, P.R.Chaina.

Thanasirungkul, W., Pumnuan, J. and A. Insung. 2012. Effectiveness of Essential Oils of Medicinal Plants against Saw-toothed Grain Beetle, Oryzaephilus surinamensis (Linn.). p. 59-64. In: 10th International Symposium on Biocontrol and Biotechnology (10th ISBB2012). 27-30, Dec. 2012, Harbin Institute of Technology, Harbin, P.R.Chaina.

Pumnuan, J. and A. Insung. 2012. Effectiveness of Essential Oils of Pepper (Piper nigrum Linn.), Lemon grass (Cymbopogon citratus (Dc. ex Nees)) and Citronella (Cymbopogon nardus Rendle.) against Mushroom Mite (Luciaphorus perniciosus Rack.). p. 65-70. In: 10th International Symposium on Biocontrol and Biotechnology (10th ISBB2012). 27-30, Dec. 2012, Harbin Institute of Technology, Harbin, P.R.Chaina.

Pumnuan, J., Teerarak, M. and A. Insung. 2012. Fumigant Toxicity of Essential Oils of Medical Plants against Maize Weevil, Sitophilus zeamaisMotsch. (Coleoptera: Curculionidae). p. 177-183. In: 2nd International Symposium of Biopesticides and Ecotoxicology Network (2nd IS-BIOPEN). 24-26, Sep. 2012, Bangkok, Thailand.

Pumnuan, J. and A. Insung. 2011. Effectiveness of essential oils of medicinal plants against stored product mite, Suidasia pontifica Oudemans. Postharvest Unlimited. May 23-26 2011, Leavenworth, WA, USA. Acta Horticulturae. 945: 79-85.

Pumnuan, J., Ruangsomboon, S. and S. Kangkunt. 2010. Insecticide residues in neptunia plantation water and related canals: a case study in Amphur Bangplee, Samutprakarn Province. P 460-463 In 16th Asian Agricultural Symposium and 1th International Symposium on Agricultural Technology. August 25-27 2010, Bangkok, Thailand.

Samosorn, A., Pumnuan, J., Insung, A. and S. Ruangsomboon. 2010. Effectiveness of cyanobacteria extracts on the house dust Mite, Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart) by contact method. P 700-704 In 16th Asian Agricultural Symposium and 1th International Symposium on Agricultural Technology. August 25-27 2010, Bangkok, Thailand.

Pumnuan, J., Chandrapatya, A. and A. Insung. 2010. Acaricidal activities of plant essential oils three plants on the mushroom mites, Luciaphorus perniciosus Rack (Acari: Pygmophoridae). Pakistan J.  Zool.42(3): 247-252.

Pumnuan, J., Insung, A. and R. Pikanes. 2009. Effectiveness of medical plant essential oils on pregnant female of Luciaphorus perniciosus Rack (Acari: Pygmephoridae). In Go…Organic 2009: The International Symposium on The Approach of Organic Agriculture: New Markets, Food Security and a Clean Environment, August 19-21, 2009, Pullman Bangkok King Power Hotel, Bangkok, Thailand.

Charoensak, S., Pumnuan, J. and A. Insung. 2009. Efficiency of extracts from indigenous herbs of Northeastern Thailand in controlling the tobacco cutworm, Spodoptera litula (F.). In Go…Organic 2009: The International Symposium on The Approach of Organic Agriculture: New Markets, Food Security and a Clean Environment, August 19-21, 2009, Pullman Bangkok King Power Hotel, Bangkok, Thailand.

Pumnuan, J., Insung, A. and A. Chandrapatya. 2008. Acaricidal effects of herb extracts on the mushroom mites, Luciaphorus perniciosus Rack and Formicomotes heteromorphus Magowski. Systematic & Applied Acarology 13(1): 33–38.

Insung, A,. Pumnuan, J. and A. Chandrapatya. 2008. Acaricidal activities of wild plant extracts against Luciaphorus perniciosus Rack (Acari: Pygmephoridae) and Formicomotes heteromophus Magowski (Acari: Dolichocybidae). Systematic and Applied Acarology. 13(3-4): 188-194.

Insung, A. and J. Pumnuan. 2008. Acaricidal activity of essential oils of medicinal plants against the house dust mite, Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart) (Abstract). P 145 In Research and Thesis 2008 12th BRT Annual Conference October 10-13, 2008 Diamond Plaza, Suraj Thani, Thailand.

Insung, A. Pumnuan, J. and P. Konvipasruang. 2008. Species diversity of stored product and house dust mites in Central Thailand (Abstract). P 144 In Research and Thesis 2008 12th BRT Annual Conference October 10-13, 2008 Diamond Plaza, Suraj Thani, Thailand.

Pumnuan, J. and A. Insung.  2007. Persistence of Household Insecticides to House Dust Mite, Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart). 706-708 In Proc. of the 2sd KMITL International Conference on Engineering, Applied Sciences and Technology for Sustainable Development, Bangkok, Thailand. 21-23 November 21-23, 2007.

Pumnuan, J. and L. Amonsin. 2004. Rapid Bioassay of Insecticide Residues on Vegetables by Acetylcholinesterase from Honey Bee Head.  257-258 In Proc. of the 1st KMITL International Conference on Integration of Science & Technology for Sustainable Development, Bangkok, Thailand. 25-26 August 2004.