บริการวิเคราะห์ทดสอบและใช้เครื่องมือ

เครื่องมือ High Performance- Liquid Chromatography (HPLC)

HPLC (High Performance Liquid Chromatography) เป็นเครื่องมือสำหรับแยกและวิเคราะห์สารประกอบที่ผสมอยู่ในตัวอย่าง โดยอาศัยหลักการความแตกต่างของอัตราการเคลื่อนที่ของสารประกอบบนเฟสคงที่ (Stationary Phase) โดยมีเฟสเคลื่อนที่ (Mobile Phase) เป็นตัวพาไป สารแต่ละชนิดจะถูกแยกออกมาเป็นส่วนๆในเวลาที่ต่างกัน โดยสารที่แยกออกมาแต่ละชนิดจากคอลัมน์จะผ่านเข้าสู่อุปกรณ์ตรวจวัดสัญญาณด้วยตัวตรวจวัด (Detector) ซึ่งสัญญาณที่บันทึกได้จะแปลผลออกมาเป็น โครมาโตแกรม (Chromatogram) มีลักษณะเป็นพีค  (Peak) ในการวิเคราะห์ผลจะนำพื้นที่ใต้พีค ของแต่ละสารมาคำนวณ ผล เปรียบเทียบกับกราฟมาตรฐาน (Calibration curve) ก็จะทราบปริมาณของสารตัวอย่าง เครื่อง HPLC สามารถวิเคราะห์สารได้ทั้งเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) และปริมาณ (Quantitative Analysis) นิยมใช้วิเคราะห์สารประกอบที่ระเหยยาก (Low Volatile Substation) หรือน้ำหนักโมเลกุลสูง (High Molecular Weight Compounds) โดยสามารถใช้กับงานด้านต่างๆ เช่น วิเคราะห์หาปริมาณวิตามิน กรดอะมิโน น้ำตาล สารกระตุ้น ยาปฏิชีวนะ ยาฆ่าแมลง 

รายการ
ค่าบริการ
บุคลากรภายในคณะ
บุคลากรภายในสถาบัน
หน่วยงานราชการ
หน่วยงานเอกชน
1. ค่าบริการตรวจวิเคราะห์โดยเจ้าหน้าที่ทำการวิเคราะห์ให้* ตัวอย่างละ

1,000

1,500

2,000

2,500

2. ค่าบริการใช้เครื่องมือ โดยผู้ใช้บริการทำการวิเคราะห์เอง
2.1 ค่าใช้เครื่องมือชั่วโมงละ
100
200
2.2 ค่าคอลัมน์ วันละ (กรณีใช้คอลัมน์ของศูนย์ฯ)
200
200
3. ค่าวัสดุสิ้นเปลือง Vial Amber with Cap ขนาด 2 mL ชุดละ

30

30

30

30

4. Print ผลวิเคราะห์ ราคาแผ่นละ
10
10
10
10
หมายเหตุ1* ผู้ส่งตัวอย่างวิเคราะห์ต้องแนบ HPLC-Condition และต้องเตรียม Mobile Phase มาใช้ในการวิเคราะห์ตัวอย่างด้วย2 ค่าสอนใช้เครื่อง ครั้งละ 1,300 บาท

ค่าบริการเครื่องมือ GC-MS

logo 2

GC-MS/MS  เป็นเครื่องมือสำหรับแยกวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณสารในสภาวะแก๊ส โดยใช้ตัวตรวจวัด (Detector) เป็นแบบเครื่องวิเคราะห์มวลสาร (Mass Spectrometer) นิยมนำมาประยุกต์ใช้สำหรับการวิเคราะห์สารประกอบที่ระเหยได้ เช่น สารแต่งกลิ่น กรดไขมัน สารหอมระเหยในพืช เป็นต้น นอกจากนั้นยังนำมาประยุกต์ในทางนิติวิทยาศาสตร์ เช่น การวิเคราะห์สารเสพติด หรือการใช้ฮอร์โมนในนักกีฬา มีความไวสูง สามารถวิเคราะห์ได้ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ  ให้ข้อมูลที่สามารถทำนายชนิดขององค์ประกอบที่มีอยู่ในสารได้อย่างค่อนข้างแม่นยำโดยอาศัยการเปรียบเทียบ Fingerprint ของเลขมวล (Mass number) ของสารตัวอย่างนั้นๆ กับข้อมูลที่มีอยู่ใน Llibrary

ค่าบริการเครื่องมือ Gas Chromatograph – Mass Spectrometer (GC-MS)

รายการ
ค่าบริการ
บุคลากรภายในคณะ บุคลากรภายในสถาบัน หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน
1. บริการตรวจวิเคราะห์โดยเจ้าหน้าที่ทำการวิเคราะห์ให้ตัวอย่างละ*
1,500
2,000
2,500
3,000
2. ค่าบริการโดยนำคอลัมน์มาเอง
– ค่าบริการใช้เครื่อง GC-MS (ต่อชั่วโมง)
500
750
3. ค่าบริการใช้เครื่อง GC-MS โดยใช้คอลัมน์ของศูนย์
– ค่าบริการใช้เครื่อง GC-MS (ต่อชั่วโมง)
500
750
– ค่าบริการใช้คอลัมน์ของศูนย์ (ความยาวคอลัมน์ตั้งแต่ 60 เมตรขึ้นไป)(ต่อวัน)
480
600
– ค่าบริการใช้คอลัมน์ของศูนย์(ความยาวคอลัมน์น้อยกว่า 60 เมตร)(ต่อวัน)
360
480
4. ค่าวัสดุสิ้นเปลือง
4.1 FurruleVespel (การเปลี่ยนคอลัมน์) อันละ**
250
250
4.2 Column nut fitting (การเปลี่ยนคอลัมน์) อันละ**
600
600
4.3 Vial Amber with Cap ขนาด 2 mL ชุดละ
20
20
5. Print ผลวิเคราะห์ พร้อม Mass Spectrum ของพีคใดพีคหนึ่งราคาแผ่นละ
10
10
20
20

หมายเหตุ

  1. ** ในกรณีที่มีการเปลี่ยนคอลัมน์ของศูนย์วิจัยฯไปเป็นคอลัมน์ของผู้ใช้บริการเอง ซึ่งต้องทำการเปลี่ยน 2 ครั้ง โดยเปลี่ยนคอลัมน์ของศูนย์ออก และทำการใส่คอลัมน์ของศูนย์เข้าไปดังเดิม เพราะฉะนั้นผู้ใช้บริการต้องรับผิดชอบค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการเปลี่ยนตามจำนวนจริง
  2. ค่าสอนใช้เครื่อง ครั้งละ 1,500 บาท

 

เครื่องมือ Microplate reader

20160722_124802 1

Microplate Reader รุ่น Multiskan GO เป็นเครื่องวัดและอ่านไมโครเพลทที่มีคุณภาพสูง สามารถวัดการดูดกลืนแสงของสารละลายในไมโครเพลทได้ ในช่วงอัลตราไวโอเลต (UV) และช่วงวิสิเบิล (VIS) สามารถวัดการดูดกลืนแสงได้ที่ความยาวคลื่นตั้งแต่ช่วง 200-1000 nm. โดยสามารถใช้กับเพลทชนิด 96 และ 384 หลุม รวมทั้งที่มีและไม่มีฝาปิด และคิวเวทท์ (Cuvette) ซึ่งสามารถควบคุมอุณหภูมิในการบ่มได้ตั้งแต่ 4 – 45 °C และมีระบบเขย่า โดยความเร็วในการวัดค่าดูดกลืนแสงไม่เกิน10 วินาที Microplate Reader เป็นเครื่องที่สามารถควบคุมการทำงานด้วยโปรแกรมภายในเครื่องแบบ Stand Alone ผ่านหน้าจอสีแสดงผลใช้งานง่ายและสะดวก นอกจากนี้ยังมีความสามารถส่งถ่ายข้อมูลผลการวัดไปยัง Thumb drive เพื่อนำไปคำนวณผลด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ต่อได้ ตัวเครื่องบันทึกโปรโตคอลการวัดไว้ภายในหน่วยความจำได้ถึง 100 assays เครื่อง Microplate Reader สามารถใช้ในงานได้หลากหลาย เช่น  การหาปริมาณ DNA RNA, Protein Assay, Enzyme Assay, ELISA assays, Kinetic assay, Cytotoxicity, Apoptosis assays, Reporter gene Assaysได้

รายการ
ค่าบริการ
บุคลากรภายในคณะ บุคลากรภายในสถาบัน หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน
1.  ค่าเปิดเครื่องใช้บริการ (ต่อครั้ง)
 400  500  600  800
2.ค่าบริการใช้เครื่องมือ ต่อชั่วโมง
 120  200  300  350
3   ค่าวัสดุสิ้นเปลือง (plate)
3.1 เพลทไม่มีฝา ราคาชิ้นละ
 50  50  50  50
 3.2 เพลทมีฝา ราคาชิ้นละ
 65  65  65  65
4 Print ผลวิเคราะห์ ราคาแผ่นละ
 10  10  10  10

 เครื่องลดขนาดอนุภาค ในระดับไมครอน   

เครื่องลดขนาด

High Pressure Homogenizer รุ่น M-110P Microfluidizer เป็นเครื่องมือสำหรับลดขนาดอนุภาคและบดผสมสาร ด้วยแรงดันสูง โดยทำงานได้ด้วยแรงจาก Hydraulic power ซึ่งแรงดันจากน้ำมัน Hydraulic จะส่งไปยัง single acting intensifier pump ทำให้สารตัวอย่างสามารถไหลเข้าไปยังภายในระบบได้ ระดับแรงดังสูงสุดที่ใช้ในการทำงาน (working pressure level) อยู่ที่ 30,000 psi สารตัวอย่างจะถูกอัดด้วยแรงคงที่ ทำให้ตัวอย่างวิ่งไปยัง interaction Chamber และผ่านช่องเล็กๆ ภายในซึ่งมีขนาดเล็กระดับไมครอนด้วยความเร็วสูงมาก ซึ่งตัวอย่างจะถูกกระทำด้วยแรง 2 แรง คือ แรงเฉือน (Shear) และ แรงกระแทก (impact) สามารถใช้เตรียมตัวอย่างสารประเภท อิมัลชัน (Emulsion) ดิสเพอร์ชัน (Dispersion) และ สารแขวนลอย (Suspension)  

รายการ
ค่าบริการ
บุคลากรภายในคณะ บุคลากรภายในสถาบัน หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน
1. ค่าบริการลดขนาดอนุภาค โดยเจ้าหน้าที่ตัวอย่างละ
 500 600 800 1000
2. ค่าบริการใช้เครื่องมือลดขนาดอนุภาค โดยผู้ใช้บริการตัวอย่างละ
 400  500  –  –

หมายเหตุ

1.  แรงดันสูงสุดที่ใช้ในการทำงาน 30,000 psi เครื่อง High Pressure Homogenizer รุ่น M-110P Microfluidize

2.  ค่าสอนใช้เครื่องมือ ครั้งละ 500 บาท

เครื่องวัดขนาดอนุภาคในระดับนาโนเมตร

เครื่องวัดขนาด

เครื่องวัดขนาดอนุภาคในระดับนาโนเมตร รุ่น NanaPlus 3

สามารถวัดขนาดอนุภาคและความต่างศักย์บนผิวอนุภาค เป็นเครื่องมือสำหรับที่ใช้วัดขนาดของสารตัวอย่างในระดับนาโนเมตรได้ตั้งแต่ 0.1-12.30 ไมโครเมตร โดยใช้เทคนิค Dynamic light scattering ในการวัดการกระเพื่อมของความเข้มแสง หรือเรียกว่า Photo correlation spectroscopy และสามารถวัดความต่างศักย์บนผิวอนุภาค สามารถใช้วิเคราะห์ตัวอย่างที่เป็นสารแขวนลอยและการเตรียมอิมัลชัน ตัวอย่างโปรตีน การเตรียมตัวอย่างยา

รายการ
ค่าบริการ
บุคลากรภายในคณะ บุคลากรภายในสถาบัน หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน
1. ค่าบริการวัดขนาดอนุภาคโดยเจ้าหน้าที่ ตัวอย่างละ
 500  600  800  1000
2. ค่าบริการใช้เครื่องมือวัดขนาดอนุภาค โดยผู้ใช้บริการตัวอย่างละ
 400  500  –  –
3 Print ผลวิเคราะห์ ราคาแผ่นละ
 10  10  10  10

หมายเหตุ

1.  วัดขนาดในช่วง 0.1 nm-12.30 µm ยี่ห้อ Micromeritics  รุ่น Nanoplus

2. ค่าสอนใช้เครื่องมือ ครั้งละ 500 บาท

 

ค่าบริการเครื่องวัดความต่างศักย์บนผิวอนุภาค (Zeta Potential)

รายการ
ค่าบริการ
บุคลากรภายในคณะ บุคลากรภายในสถาบัน หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน
1. ค่าบริการวัดความต่างศักย์บนผิวอนุภาค โดยเจ้าหน้าที่ตัวอย่างละ
 700  800  1000  1200
2. ค่าบริการใช้เครื่องมือความต่างศักย์บนผิวอนุภาค โดยผู้ใช้บริการตัวอย่างละ
 500  600  –  –
3. Print ผลวิเคราะห์ ราคาแผ่นละ
10 10  10  10

หมายเหตุ

1.  ช่วง -500 ~+500 mV ยี่ห้อ Micromeritics รุ่น Nanoplus

2. ค่าสอนใช้เครื่องมือ ครั้งละ 500 บาท

ค่าบริการผลิตน้ำบริสุทธิ์

water-2

เครื่องผลิตน้ำสำหรับห้องปฏิบัติการ คุณภาพน้ำระดับ Type I และระดับ Type III  

คุณภาพน้ำระดับ Type I :  เป็นระบบน้ำบริสุทธิ์ (Ultra Pure System) เป็นน้ำที่มีความบริสุทธิ์สูง และมีปริมาณสารปนเปื้อนน้อยที่สุด จึงควรใช้ทันทีหลังจากผลิตเสร็จ   ซึ่งน้ำประเภทนี้จะใช้ในการวิเคราะห์ทดสอบที่มีความถูกต้องแม่นยำสูง

คุณภาพน้ำระดับ Type III :  เป็นการผลิตน้ำ RO (Reverse Osmosis) เหมาะสำหรับการใช้ในงานวิเคราะห์ทดลองในห้องปฏิบัติการทั่วไป

รายการ
ค่าบริการ
บุคลากรภายในคณะ บุคลากรภายในสถาบัน หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน
Type I ลิตรละ
40 60 80 100
Type III ลิตรละ
 20 30  40  50

หมายเหตุ

1.   ผู้ใช้บริการต้องเตรียมภาชนะที่ใส่น้ำมาเอง

2.   ต้องแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วันทำการเพื่อเตรียมน้ำไว้ล่วงหน้า

Growth Chamber

 growth

เป็นตู้เพาะเลี้ยงพืช ใช้ในการเพาะเลี้ยงสิ่งมีชีวิต สามารถควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น และแสง

รายการ
ค่าบริการ/วัน
บุคลากรภายในคณะ บุคลากรภายในสถาบัน หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน
1. ค่าบริการตู้
     Growth Chamber
 100  100  200  300

 

 ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง

 งานบริการวิชาการ

 การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีและตรวจสอบคุณภาพอาหารสัตว์ โดยเปิดรับวิเคราะห์โภชนะในตัวอย่างอาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์ และเนื้อสัตว์ ดังนี้

  1. วิธี Proximate Analysis ประกอบด้วย ความชื้น (Moisture), โปรตีน (Crude protein) , ไขมัน (Ether extract) ,   เยื่อใย (Crude Fiber) และเถ้า (Ash)
  2. วิธีวิเคราะห์แบบ Van Soest Sytem ในพืชอาหารสัตว์ ประกอบด้วย การวิเคราะห์หาผนังเซลล์ (Neutral detergent fiber ; NDF) และ การวิเคราะห์หา Acid detergent fiber ; ADF
  3. วิธีวิเคราะห์หาแร่ธาตุที่สำคัญ ; แคลเซียม (Ca), ฟอสฟอรัส (P)
  4. วิธีวิเคราะห์หาพลังงานทั้งหมด (gross energy)
  5. ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์
 การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีและตรวจสอบคุณภาพอาหารสัตว์ 

รายการเครื่องมือ

รายการวิเคราะห์/ใช้เครื่องมือ

ค่าวิเคราะห์ตัวอย่างละ 

จำนวนวันรับผล

(ไม่เกิน)

เครื่องวิเคราะห์โปรตีนรุ่น kjeltecTM2200  ยี่ห้อFoss วิเคราะห์โปรตีนหยาบ(Crude protein)ในตัวอย่าง  อาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์  เนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ 300 บาท 5 วัน
เครื่องกลั่นโปรตีนรุ่น VAP30ยี่ห้อ Gerhardt วิเคราะห์โปรตีนหยาบ(Crude protein)  ในตัวอย่าง  อาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์  เนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์ 300 บาท 5 วัน
เตาย่อยและเตากลั่นโปรตีนยี่ห้อ Gerhardt วิเคราะห์โปรตีนหยาบ(Crude protein)  Kjeldahl Method ในตัวอย่าง  อาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์  เนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์ 300 บาท 5 วัน
เครื่องวิเคราะห์ปริมาณเยื่อใยรุ่นFibertec system M6  ยี่ห้อ Tecator วิเคราะห์เยื่อใยหยาบ (Crude fiber)ในตัวอย่าง  อาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์  เนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์ 300 บาท 5 วัน
ชุดเตารีฟลั๊กยี่ห้อ Gerhard วิเคราะห์ NDF  ในตัวอย่าง  อาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์ 350 บาทรับตั้งแต่ 5 ตัวอย่างขึ้นไป 10 วัน
วิเคราะห์ ADF   ในตัวอย่าง  อาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์ 350 บาทรับตั้งแต่ 5 ตัวอย่างขึ้นไป 10 วัน
วิเคราะห์Ligninในตัวอย่าง  อาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์ 300 บาทรับตั้งแต่ 5 ตัวอย่างขึ้นไป 10 วัน
เครื่องวิเคราะห์ปริมาณไขมันรุ่น SOX 416 ยี่ห้อ Gerhardt วิเคราะห์ไขมันหยาบ (Crude fat)  ในตัวอย่าง  อาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์  เนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์ 300 บาท 5 วัน(ขึ้นกับจำนวนตัวอย่าง)
Spectrophotometerรุ่น UV-1601  ยี่ห้อ Shimadzu วิเคราะห์ ฟอสฟอรัส  ในอาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์  และเนื้อสัตว์ 300 บาท 5  วัน(ขึ้นกับจำนวนตัวอย่าง)
เตาเผาอุณหภูมิสูง รุ่น 51842-B ยี่ห้อ Blue บ. Linberd ขนาด 37 ลิตรเตาเผาอุณหภูมิสูง
รุ่น 1V3/P  ยี่ห้อ Naber
ขนาด 9 ลิตร
วิเคราะห์เถ้า (Ash) ในตัวอย่างอาหารสัตว์ และ วัตถุดิบอาหารสัตว์ 200 บาท 5  วัน(ขึ้นกับจำนวนตัวอย่าง)
เตรียมตัวอย่างวิเคราะห์ AIA (Acid insoluble ash) ในตัวอย่างอาหารสัตว์ และ วัตถุดิบอาหารสัตว์ 100 บาท 5  วัน(ขึ้นกับจำนวนตัวอย่าง)
เตรียมตัวอย่างวิเคราะห์แคลเซียมในตัวอย่างอาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์  และเนื้อสัตว์ 100 บาท 5 วัน(ขึ้นกับจำนวนตัวอย่าง)
ตู้อบไอร้อนรุ่น FD 115 ยี่ห้อ Binderความจุขนาด 115 ลิตร
ตู้อบไอร้อน
รุ่น FD 53 ยี่ห้อ Binder
ความจุขนาด 53 ลิตร
วิเคราะห์ความชื้นในตัวอย่างอาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์  และเน 150 บาท 5  วัน(ขึ้นกับจำนวนตัวอย่าง)

หมายเหตุ     ราคาบริการวิเคราะห์บุคคลภายนอก/ภายใน  ราคาเท่ากัน

 การให้บริการเฉพาะทางไม่เกี่ยวกับเครื่องมือ  

รายการ วิเคราะห์ ค่าบริการเคราะห์ จำนวนวันรับผล (ไม่เกิน) การเตรียมตัวอย่าง หมายเหตุ
1 AIA (Acid insoluble ash) ในตัวอย่างอาหารสัตว์ และ วัตถุดิบอาหารสัตว์ 400 5 วันทำการ

(ขึ้นกับจำนวนตัวอย่าง)

ตามวิธีวิเคราะห์ AOAC Official Method of Analysis 1995 ราคารวมการเผาตัวอย่าง 100 บาท
2 แคลเซียมในตัวอย่างอาหารสัตว์  วัตถุดิบอาหารสัตว์  และเนื้อสัตว์ 300 5 วันทำการ

(ขึ้นกับจำนวนตัวอย่าง)

ตามวิธีวิเคราะห์ AOAC Official Method of Analysis 1995 ราคารวมการเผาตัวอย่าง 100 บาท

หมายเหตุ    ราคาบริการวิเคราะห์บุคคลภายนอก/ ภายใน   ราคาเท่ากัน

ขั้นตอนการส่งตัวอย่าง
ผู้สนใจสามารถส่งตัวอย่างได้ที่

1 ส่งด้วยตนเองที่ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร  สถาบันเทคโนโลยีพระเจ้าเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง  อาคารบุนนาค (ตึก L ) ชั้น 3  ห้องปฏิบัติการโภชนศาสตร์สัตว์ โทร 023298519 หรือสายใน 3656    นางสาวจรรยา คงฤทธิ์    และนางณหทัย วิจตโรทัย

2. ส่งพัสดุ ถึงหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระเจ้าเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขที่ 1 ซอยฉลองกรุง 1 ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์

 งานบริการวิชาการทางด้านวิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์

 อัตราค่าบริการห้องปฏิบัตการ

-ค่าเครื่องจักรผลิตสินค้าแต่ละชนิดราคา 3000 บาทต่อตัว
-ค่าห้องปฏิบัติการ ราคา2000 บาทต่อวัน
-ค่าห้องประชุมราคา2000-5000 บาทต่อครั้ง
-ค่าบุคคลากร ภาคปฏิบัติ 600-1000 บาท ต่อชั่วโมง
หมายเหตุ  อัตราค่าบริการต่าง อาจคงต้องให้ภาควิชาฯ.เป็นผู้พิจารณา จึงจะถือว่าเป็นที่สิ้นสุด
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

รายการ

วิธีเตรียมตัวอย่าง

หมายเหตุ

การทดสอบประสิทธิภาพของสารกำจัดไรฝุ่นวิเคราะห์ตรวจสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์กำจัดไรฝุ่น โดยวิธีการรม – เลี้ยงไรฝุ่นในห้องปฏิบัติการ สารทดสอบต้องเป็นของเหลว ไม่ตกตะกอน ระเหยเป็นไอได้ง่ายดำเนินการร่วมกับอาจารย์ในภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ในฐานะที่เป็นหัวหน้าห้องปฏิบัติการตรวจสอบแมลงและไร ตัวอย่างละ  2,000 บาท

รับผล (ไม่เกิน) 7 วันทำการ

การตรวจจำแนกแมลงปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์วิเคราะห์ตรวจสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์กำจัดไรฝุ่น โดยวิธีการรม  – จำแนกแมลงที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในระดับที่สามารถตรวจสอบได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของตัวอย่างที่ส่งมาให้ดำเนินการร่วมกับอาจารย์ในภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ในฐานะที่เป็นหัวหน้าห้องปฏิบัติการตรวจสอบแมลงและไร ตัวอย่างละ  1,000 บาท

รับผล (ไม่เกิน) 7 วันทำการ

การตรวจจำแนกแมลงทั่วไปวิเคราะห์ตรวจจำแนกแมลงทั่วไป – จำแนกแมลงที่ปนเปื้อนทั่วไป ในระดับที่สามารถตรวจสอบได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของตัวอย่างที่ส่งมาให้ดำเนินการร่วมกับอาจารย์ในภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ในฐานะที่เป็นหัวหน้าห้องปฏิบัติการตรวจสอบแมลงและไร ตัวอย่างละ  1,000 บาท

รับผล (ไม่เกิน) 7 วันทำการ

 ภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร 
รายการเครื่องมือ

รายการใช้เครื่องมือ

ราคาสำหรับบุคคลภายนอก

ราคาสำหรับบุคคลภายใน

หมายเหตุ

ชุดกล้องถ่ายภาพดิจิตอลความละเอียดสูง ถ่ายภาพดิจิตอลความละเอียดสูงระบบ Full Frame

วันละ

1,500

1,000

เฉพาะอุปกรณ์ไม่รวมค่าแรง

ชุดไฟสตูดิโอ สำหรับงานอีเวนท์ต่างๆ ทั้งภาพนิ่งและเคลื่อนไหวภายในอาคาร

วันละ

1,500

1,000

เฉพาะอุปกรณ์ไม่รวมค่าแรง

ชุดไฟต่อเนื่อง สำหรับสำหรับงาน หนังสั้น MV ถ่ายภาพ อีเวนท์ต่างๆ งาน outdoor ทั้งภาพนิ่งและเคลื่อนไหว กำลังไฟ 72w และ 18w

วันละ

1,500

1,000

เฉพาะอุปกรณ์ไม่รวมค่าแรง

ชุดระบบเสียงเคลื่อนที่ เครื่องผสมสัญญาณเสียงพร้อมลำโพงใช้งานพิธีการ งานอีเวนท์ต่างๆ

วันละ

3,500

3,000

เฉพาะอุปกรณ์ไม่รวมค่าแรง

ชุดเครื่องผลิตสื่อมัลติมิเดีย คอมพิวเตอร์สำหรับงานผลิตสื่อมัลติมีเดียต่างๆ

วันละ

1,000

700

เฉพาะอุปกรณ์ไม่รวมค่าแรง

ชุดผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง สามารถใช้บันทึกเสียง ตัดต่อเสียง จัดรายการวิทยุ

วันละ

1,000

700

เฉพาะอุปกรณ์ไม่รวมค่าแรง

ชุดผลิตและสลับสัญญาณภาพวิดีทัศน์ ใช้สลับสัญญาณภาพวิดิทัศน์ ใช้ในงานสตูดิโอ หรือ งานอีเวนท์ต่างๆ

วันละ

10,000

7,000

เฉพาะอุปกรณ์ไม่รวมค่าแรง

ชุดฉากถ่ายภาพสตูดิโอ ขนาดหน้ากว้าง 3 เมตร มี 6 ลาย

วันละ

1,500

1,000

ให้บริการในสตูดิโอ
เฉพาะอุปกรณ์ไม่รวมค่าแรง

ชุดเต๊นท์ถ่ายภาพผลิตภัณฑ์ ขนาด 120×120 ซม. ใช้ถ่ายภาพผลิตภัณฑ์

วันละ

500

350

ให้บริการในสตูดิโอ
เฉพาะอุปกรณ์ไม่รวมค่าแรง

ชุดโต๊ะถ่ายภาพผลิตภัณฑ์ ขนาด 60×120ซม. ใช้ถ่ายภาพผลิตภัณฑ์

วันละ

500

350

ให้บริการในสตูดิโอ
เฉพาะอุปกรณ์ไม่รวมค่าแรง

ชุดกล่องถ่ายภาพผลิตภัณฑ์ ขนาด 20×30ซม. ใช้ถ่ายภาพผลิตภัณฑ์ขนาดเล็ก

วันละ

500

350

เฉพาะอุปกรณ์ไม่รวมค่าแรง

ชุดเครื่องพิมพ์ระบบกดความร้อน ใช้พิมพ์เสื้อ พิมพ์วัสดุแนวราบด้วยระบบความร้อน สามารถพิมพ์ลงวัสดุผ้า (เสื้อ หมวก) แก้วเซรามิก จานเซรามิก เคสมือถือ เป็นของที่ระลึก

ชิ้นละ

30

20

คิดราคาเฉพาะค่าหมึก ค่ากระดาษ ส่วนวัสดุที่ใช้พิมพ์ผู้ขอรับบริการนำมาเอง
(ผ้า TC/TK สีอ่อน)

เครื่องตัดเล่ม (ตัดเจียนเข้าเล่ม) ใช้ตัดเจียนเล่มหนังสือ เอกสาร

ครั้งละ

0

0

เจียรเล่มหนังสือ ใบปลิว แผ่นพับ
ให้บริการฟรี ไม่เกิน 500 แผ่น

ชุดเครื่องสีข้าวเปลือกเป็นข้าวกล้อง ใช้สีข้าวเปลือกเป็นข้าวกล้อง

ยังไม่ระบุ

ชุดเครื่องสีข้าวเปลือกเป็นข้าวสาร ใช้สีข้าวเปลือกเป็นข้าวสาร

ยังไม่ระบุ

ชุดเครื่องซีลถุงสูญญากาศ ใช้ซีลถุงสูญญากาศ

ยังไม่ระบุ

ชุดอุปกรณ์วัดความชื้นข้าว ใช้วัดความชื้นข้าว

ยังไม่ระบุ

การติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อขอใช้บริการ
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง
ag-natnara-2
นางณหทัย  วิจิตโรทัย
นักวิทยาศาสตร์ (ชำนาญการ)
nahatai.vi@kmitl.ac.th
เบอร์โทร 02-3298000 ต่อ 3656
janya 2
นางสาวจรรยา  คงฤทธิ์
นักวิทยาศาสตร์ (ชำนาญการ)
kkjunya@kmitl.ac.th
เบอร์โทร 02-3298000 ต่อ 3656
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
jarong2
ดร. จรงค์ศักดิ์  พุมนวน
นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการขั้นสูง
jarongsak.pu@kmitl.ac.th
เบอร์โทร.  02-3298000  ต่อ 3665 
ภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร
logo papat
นายประพัฒน์  อธิปัญจพงษ์
นักวิชาการเกษตร
prapat.at@kmitl.ac.th
เบอร์โทร. 02-3298000  ต่อ 7077