นางสาวบุปผา จงพัฒน์

buppha2-1
นางสาวบุปผา  จงพัฒน์
นักวิทยาศาสตร์
buppha.jo@kmitl.ac.th
เบอร์โทร 02-3298000 ต่อ 7084

คุณวุมิการศึกษา

ปี พ.ศ.ที่จบ

สถานศึกษาที่จบการศึกษา

วท.บ (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)  2538  สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา
วท.ม (เทคโนโลยีชีวภาพ)  2547  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

 

 สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ 

1. การเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน
2. การวิเคราะห์ทางโภชนศาสตร์ ได้แก่ ความชื้น เถ้า ไขมัน เยื่อใย โปรตีน แคลเซี่ยม และฟอสฟอรัส
3. การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
4. การวิเคราะห์ทางจุลชีววิทยา

 งานบริการวิชาการ

1. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับบทปฏิบัติการที่รับผิดชอบและงานมีความชำนาญกับนักศึกษาภายในและภายนอกภาควิชาที่มาขอรับบริการใช้งานห้องปฏิบัติการและเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่รับผิดชอบ
2. วิเคราะห์ตัวอย่างตามงานที่มีความชำนาญหากได้รับมอบหมาย

หน้าที่รับผิดชอบ

1. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ สารเคมี และเครื่องแก้ว ในการสอนวิชาปฏิบัติการได้แก่ คุณภาพน้ำเพื่อการประมง สรีรวิทยาของสัตว์น้ำ โภชนศาสตร์สัตว์น้ำ นิเวศวิทยา เทคโนโลยีสาหร่าย และเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเล
2. ดูแลการเบิกจ่ายวัสดุอุปกรณ์ เครื่องแก้ว สารเคมี และเครื่องมือในวิชาปฏิบัติการชุมชน พยาธิสภาพของสัตว์น้ำ ปลาสวยงามและพันธุ์ไม้น้ำ ปัญหาพิเศษ และวิทยานิพนธ์
3. ดูแลห้องปฏิบัติการของหลักสูตรได้แก่
– ห้องปฏิบัติการคุณภาพน้ำเพื่อการประมง (ห้อง D104/1)
– ห้องปฏิบัติการเครื่องมือรวม 1 (ห้อง D103)
– ห้องปฏิบัติการเครื่องมือรวม 2 (ห้อง B129)
– ห้องปฏิบัติการเครื่องมือรวม 3 (ห้อง B102)
– ห้องปฏิบัติการโภชนศาสตร์สัตว์น้ำ (ห้อง B101)
– ห้องปฏิบัติการโรคสัตว์น้ำและสรีรวิทยาของสัตว์น้ำ (ห้อง B126)
4. ดูแลการใช้ และบำรุงรักษาเครื่องมือที่อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบ
5. ส่งเรื่องขออนุมัติจัดซื้อ-จัดจ้าง สารเคมี วัสดุอุปกรณ์เครื่องแก้วและสารคมีที่ใช้ในการเรียนการสอนของห้องปฏิบัติการหลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมง
6. ช่วยอาจารย์ทำรายละเอียดการขอครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ของหลักสูตรฯ
7. เก็บรักษาหัวเชื้อแบคทีเรีย แพลงก์ตอน และสาหร่ายบางชนิด เพื่อใช้ในการเรียนการสอนของหลักสูตร
8. งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย
รายการเครื่องมือ
ยี่ห้อและรุ่น
คุณสมบัติของเครื่อง
1. เครื่องอ่านปฏิกริยาบนไมโครเพลท
(Micro plate reader)
ยี่ห้อ Tecanรุ่น Sunrise basic tech – ใช้กับ well plate ชนิด 96 หลุม– ความยาวคลื่นที่สามารถวัดได้ คือ 340 405 415 620 450 492 560 และ 595 นาโนเมตร
2. เครื่องวัดค่าออสโมลาริตี้ (Osmolarity meter)หรือ Cryoscopic osmometer) ยี่ห้อ Gonotecรุ่น Osmomat 030 – ปริมาตรตัวอย่างที่ใช้วัดอย่างน้อย 50 ไมโครลิตร– ใช้กับ Osmotube
3. ชุดวิเคราะห์ปริมาณไนโตรเจน ยี่ห้อ Gerhardt
3.1 เครื่องย่อยพร้อมชุดกำจัดไอกรด (Digestion Unit และ Scrubber Unit) รุ่น Therbotherm 705030 – ใช้กับหลอดย่อยยี่ห้อ Gerhardt ขนาด 250 มล.– สามารถย่อยตัวอย่างครั้งละ 12 ตัวอย่าง– ใช้กับกรดซัลฟิวริกปริมาตรอย่างน้อย 20 มล.
3.2 เครื่องกลั่น (Distillation Unit) รุ่น Vapodest 7620 – ใช้กับหลอดกลั่นหรือหลอดย่อยยี่ห้อ Gerhardt ขนาด 250 มล.– สามารถตั้งเวลาและอุณหภูมิในการกลั่นได้– สามารถตั้งการเติมด่างในระบบอัตโนมัติได้
4. ชุดวิเคราะห์ไขมัน เตาให้ความร้อนแบบหลุมยี่ห้อ FALC รุ่น BE4-250 – เป็นชุดเครื่องแก้ววิเคราะห์ไขมัน โดยวิธี Soxhlet Apparatus– วิเคราะห์ได้ครั้งละ 8 ตัวอย่าง– ใช้กับขวดก้นกลม ขนาด 250 มล. (29/32)

– ใช้ปิโตรเลี่ยอีเทอร์ปริมาตร 150 มล.ต่อตัวอย่าง

– สามารถตั้งอุณหภูมิในการให้ความร้อนสูงสุด 350 องศาเซลเซียส

5. เตาเผาอุณหภูมิสูง (Furnace) ยี่ห้อ CABOLITEรุ่น CWF 11/13/301 -สามารถตั้งอุณหภูมิสูงสุดที่ได้ 1100 องศาเซลเซียส-หากใช้กับ Crucible ทรงสูง (101/40) สามารถวิเคราะห์ได้ครั้ง
ละประมาณ 24 ตัวอย่าง
6. ชุดวิเคราะห์เยื่อใย เตาให้ความร้อนยี่ห้อ GerhardtType EV1 – เป็นชุดเครื่องแก้ววิเคระห์เยื่อใยแบบ Reflux Unit และอุปกรณ์ของFiber bag system– วิเคราะห์ได้ครั้งละ 12 ตัวอย่าง– ต้องใช้กับ Fiber bag ที่จำเพาะ

– ตัวอย่างในการวิเคราะห์ประมาณ 2 กรัม

7. เครื่องระเหยสุญญากาศ (Evaporator) ยี่ห้อ HEIDOlPHรุ่น LABORATA 4003 – ใช้กับ Evaporating flask (29/32)ขนาด 250 มล. และ 1000 มล.
8. เครื่องชั่งทศนิยม 4 ตำแหน่ง ยี่ห้อ METTLER TOLEDOรุ่น AG204 – น้ำหนักสูงสุดที่ชั่งได้ 210 กรัม– ความละเอียดในการอ่านค่า 0.1 mg
9. เครื่องชั่งทศนิยม 4 ตำแหน่ง ยี่ห้อ Denver Instrumentรุ่น SI-234 – น้ำหนักสูงสุดที่ชั่งได้ 230 กรัม– ความละเอียดในการอ่านค่า 0.1 mg
10. เครื่องชั่งทศนิยม 4 ตำแหน่ง ยี่ห้อ ANDรุ่น GR200 – น้ำหนักสูงสุดที่ชั่งได้ 210 กรัม– ความละเอียดในการอ่านค่า 0.1 mg
11. เครื่องชั่งทศนิยม 2 ตำแหน่ง ยี่ห้อ METTLER TOLEDOรุ่น PB1502-S – น้ำหนักสูงสุดที่ชั่งได้ 1510 กรัม– ความละเอียดในการอ่านค่า 0.01 g
12. เครื่องชั่งทศนิยม 2 ตำแหน่ง ยี่ห้อ OHAUSรุ่น ADVENTERER – น้ำหนักสูงสุดที่ชั่งได้ 3100 กรัม– ความละเอียดในการอ่านค่า 0.01 g
13. เครื่องชั่งทศนิยม 2 ตำแหน่ง ยี่ห้อ AND รุ่น GF3000 – น้ำหนักสูงสุดที่ชั่งได้ 3100 กรัม– ความละเอียดในการอ่านค่า 0.01 g
14. เครื่องชั่งทศนิยม 2 ตำแหน่ง ยี่ห้อ ADAM รุ่น PGL2002 – น้ำหนักสูงสุดที่ชั่งได้ 2000 กรัม– ความละเอียดในการอ่านค่า 0.01g
15. เครื่องทำน้ำดีไอออไนซ์ ยี่ห้อ TKA รุ่น Smart 2 Pure UF/VV – น้ำดีไอออไนซ์ ASTM Type I
16. เครื่องเตรียมชิ้นเนื้อเยื่อในบล็อกพารฟิน(Tissue processor) ยี่ห้อ Leica รุ่น TP1020 -ใช้สารละลายอย่างน้อย 1.5-1.8 ลิตร-ใส่ cassette box ได้สูงสุดครั้งละ 50-80 cassette boxes
17 .เครื่องตัดชิ้นเนื้อเยื่อในบล็อกพาราฟิน(Microtome) พร้อมเครื่องมือประกอบอื่นๆ ได้แก่แท่นทำความเย็น (cold plate) อ่างน้ำควบคุมอุณหภูมิ (water bath) และเครื่องอุ่นสไลด์ (Slide warmer) ยี่ห้อ MICROM รุ่น HM335E -ใช้กับตัวอย่างที่ embedded ในพาราฟิน-สามารถในการตัดเนื้อเยื่อในบล็อกพาราฟินความหนาขนาด 1-25 ไมโครเมตร
18. หม้อต้มพาราฟิน และแท่นอุ่นบล็อกพาราฟิน ยี่ห้อ MEDAX Type 47311และยี่ห้อ HESTION TEC-2800 Thermal console – ใช้ embed เนื้อเยื่อในบล็อกพาราฟิน– อุปกรณ์ประกอบอื่น ได้แก่ mold stainless
19. ตู้บ่มเพาะเชื้อ (Incubator) ยี่ห้อ SANYOรุ่น MIR-262 -ใช้บ่มเพาะเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย-สามารถตั้งอุณหภูมิ ตั้งแต่เหนืออุณหภูมิห้อง 5 องศาเซลเซียสจนถึง 60 องศาเซลเซียส
20.ตู้บ่มเพาะเชื้ออุณหภูมิต่ำ (Cooled incubator) ยี่ห้อ SANYOรุ่น MIR-253 -ใช้บ่มเพาะเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย-ใช้วิเคราะห์ค่า บีโอดี-สามารถตั้งอุณหภูมิในช่วง –10 องศาเซลเซียส จนถึง 50 องศาเซลเซียส
21. เครื่องเขย่าแบบควบคุมอุณหภูมิ (Incubator shaker) ยี่ห้อ LMS Scientificรุ่น VS-8480SF -สามารถตั้งอุณหภูมิในช่วง 15-60 องศาเซลเซียส-สามารถตั้งความเร็วรอบในการเขย่าได้ 0-350รอบต่อนาที

-ใช้กับขวดรูปชมพู่ ขนาด 250 มล. เขย่าได้ครั้งละ 25 ตัวอย่าง

22. เครื่องวัดออกซิเจนที่ละลายในน้ำแบบภาคสนาม (Dissolved Oxygen Meter) ยี่ห้อ YSI รุ่น 550 -ไม่ใช้กับน้ำเสีย-อุณหภูมิในการวัดอยู่ในช่วง -5 ถึง 45 องศาเซลเซียส-ค่าออกซิเจนที่วัดได้ในช่วง 0-20 mg/L

-สามารถปรับค่าความเค็มในการวัดถึง 40 ppt

23. เครื่องวัดออกซิเจนที่ละลายในน้ำแบบภาคสนาม (Dissolved Oxygen Meter) ยี่ห้อ YSI รุ่น 550Aจำนวน 2 เครื่อง -ไม่ใช้กับน้ำเสีย-อุณหภูมิในการวัดอยู่ในช่วง -5 ถึง 45 องศาเซลเซียส-ค่าออกซิเจนที่วัดได้ในช่วง 0-50 mg/L

สามารถปรับค่าความเค็มในการวัดถึง 70 ppt

24.เครื่องวัดออกซิเจนที่ละลายในน้ำแบบภาคสนาม (Dissolved Oxygen Meter) ยี่ห้อ YSI รุ่น Pro 20 -ไม่ใช้กับน้ำเสีย-อุณหภูมิในการวัดอยู่ในช่วง -5 ถึง 45 องศาเซลเซียส-ค่าออกซิเจนที่วัดได้ในช่วง 0-50 mg/L

-สามารถปรับค่าความเค็มในการวัดถึง 70 ppt

25. เครื่องวัดออกซิเจนที่ละลายในน้ำแบบตั้งโต๊ะ(BOD probe) ยี่ห้อ YSI รุ่น 52 -ไม่ใช้กับน้ำเสีย-ใช้กับขวดบีโอดี-อุณหภูมิในการวัดอยู่ในช่วง -5 ถึง 45 องศาเซลเซียส

-ค่าออกซิเจนที่วัดได้ในช่วง 0-19.99 mg/L

-สามารถปรับค่าความเค็มในการวัดถึง 40 ppt

26. เครื่องวัดออกซิเจนที่ละลายในน้ำแบบตั้งโต๊ะ(BOD probe) ยี่ห้อ YSI รุ่น 5100 -ไม่ใช้กับน้ำเสีย-ใช้กับขวดบีโอดี-อุณหภูมิในการวัดอยู่ในช่วง -5 ถึง 50 องศาเซลเซียส

-ค่าออกซิเจนที่วัดได้ในช่วง 0-60 mg/L

-สามารถปรับค่าความเค็มในการวัดถึง 40 ppt

27.เครื่องวัดค่าความเป็นกรดด่าง (pH meter)แบบภาคสนาม ยี่ห้อ HANNA ไม่ใช้กับน้ำเสีย
28.เครื่องวัดค่าความเป็นกรดด่าง (pH meter)แบบตั้งโต๊ะ ยี่ Cyber scanรุ่น 510 ไม่ใช้กับน้ำเสีย
29. เครื่องวัดการดูดกลืนแสง(Spectrophotometer) ยี่ห้อ Thermo scientificรุ่น Genesys 10 Visจำนวน 2 เครื่อง -สามารตั้งความยาวคลื่นได้ในช่วง 325-1100นาโนเมตร-สามารถสแกนหาความยาวคลื่นในช่วง 100 นาโนเมตร

-สามารถตั้งความยาวคลื่นในการวัดได้หลายความยาวคลื่นพร้อมกัน (multi wavelength)

30.ยูวีวิสสเปกโตรโฟโตมิเตอร์
(UV-Vis Spectrophotometer)
ยี่ห้อ JASCO รุ่น V630 -สามารถตั้งความยาวคลื่นในช่วง 190-1100 นาโนเมตร-สามารถสแกนความยาวคลื่นได้ตั้งแต่ 190-1100 นาโนเมตร-สามารถตั้งความยาวคลื่นในการวัดได้หลายความยาวคลื่นพร้อมกัน (multi wavelength)
31. เครื่องวัดการดูดกลืนแสง(Spectrophotometer) ยี่ห้อ Thermo Spectronicรุ่น Genesys 20 สามารตั้งความยาวคลื่นได้ในช่วง 325-1100นาโนเมตร
32. เครื่องวัดค่าการนำไฟฟ้าและสารละลายในน้ำ(Conductivity/TDS meter) ยี่ห้อ HACH และ HANNA ไม่ใช้กับน้ำเสีย
33. Hotplate stirrer ยี่ห้อ IKA รุ่น RCT basic -ความเร็วรอบในการกวน 100-1500 rpm-สามารถตั้งอุณหภูมิได้ตั้งแต่ 50-360 องศาเซลเซียส-ปริมาตรการกวนสูงสุดของ (น้ำ) 10 ลิตร
34. Hotplate stirrer ยี่ห้อ IKA รุ่น RH basic 2จำนวน 3 เครื่อง -ความเร็วรอบในการกวน 100-2000 rpm-สามารถตั้งอุณหภูมิได้ตั้งแต่ อุณหภูมิห้องจนถึง 320 องศาเซลเซียส-ปริมาตรการกวนสูงสุดของ (น้ำ) 10 ลิตร
35. เครื่องวัดและบันทึกความเข้มแสง (light intensity) ยี่ห้อ Spectrum Technology Inc.รุ่นWatchdog 200 S/N 20481 + Quantum light sensor – ส่วนบันทึกข้อมูลมีหน่วยความจำที่สามารถบันทึกผลการวัดค่าได้ไม่น้อยกว่า 7,000 ค่า– สามารถปรับระยะเวลาที่ต้องการบันทึกข้อมูลได้เป็น 1 10 15 30 60 กรณีเลือกใช้ระยะเวลาในการบันทึกข้อมูลทุกๆ 30 นาทีสามารถบันทึกข้อมูลการวัดได้นานไม่น้อยกว่า 78 วัน

-หัววัดพลังงานแสงสามารถวัดพลังงานแสงแบบ Quantum light Sensor ในช่วงความยาวคลื่น 400-700 นาโนเมตร

-วัดค่าความเข้มแสงได้ในช่วงในหน่วย 0 ถึง 2500 ?mol/m 2 /s)

– มี Software สำหรับกำหนดเงื่อนไขในการใช้งาน

36. เครื่องวัดแสง (lux meter) จำนวน 3 เครื่อง Model:LX-1010BS และModel LX-1020B -วัดความสว่างของแสงได้ในช่วง 0-100000 Lux
37. หม้อนึ่งความดันไอ (Autoclave) ยี่ห้อ HIRAYAMA รุ่น HV50 ขนาด 50 ลิตร-วางตะกร้าสำหรับวางอุปกรณ์ค่าเชื้อได้ 3 ชั้น

-สามารถตั้งโปรแกรมการทำงานของเครื่องในโหมด ของเหลว(Liquid) ของแข็ง (Solid) โหมดอุ่นอาหารแข็ง (Warm) และโหมดหลอมเหลวอาหารวุ้น (Agar)

38. หม้อนึ่งความดันไอ (Autoclave) ยี่ห้อ HIRAYAMA รุ่น HVE50 ขนาด 50 ลิตร-วางตะกร้าสำหรับวางอุปกรณ์ค่าเชื้อได้ 3 ชั้น

-สามารถตั้งโปรแกรมการทำงานของเครื่องในโหมด ของเหลว(Liquid) ของแข็ง (Solid) โหมดอุ่นอาหารแข็ง (Warm)

39. ตู้แช่ ยี่ห้อ Brandt -ใช้เก็บรักษาตัวอย่างและหัวเชื้อแบคทีเรีย-ตั้งอุณหภูมิที่ -20 องศาเซลเซียส
40. ตู้เย็น (จำนวน 4 เครื่อง) ยี่ห้อ MISSUBISHIและSAN – เก็บรักษาสารเคมี และหัวเชื้อแบคทีเรีย